Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA Endometrium - Coggle Diagram
CA Endometrium
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
-
-
-
-
-
ปัญหาที่ 1ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อเนื่องจากเป็นมะเร็งลุกลามไปยังท่อไตด้านซ้ายทำให้มีอาการกดเบียดของท่อไตทำให้เกิดการคั่งค้างของน้ำปัสสาวะทำให้ไม่สามารถระบายน้ำปัสสาวะมายังกระเพาะปัสสาวะได้
-
การพยาบาล
1.บันทึกสัญญาณชีพทุกๆ 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิ
- ล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการ
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยดูจากเม็ดเลือดขาว (WBC) เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
- สังเกตตำแหน่งและลักษณะของสายระบายน้ำปัสสาวะไม่หัก พับ งอ ดึงรั้ง เพื่อป้องกันการหลุดเลื่อนของสายระบายน้ำปัสสาวะ
5.แนะนำการดูแลระมัดระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำ
- dressing แผล ด้วยหลัก Aseptic Technique ตามแผนการรักษาของแพทย์
7.ให้ยา Ciprofloxacin 500 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ2ครั้งหลังอาหาร เช้า เย็น
-
-
-
การรักษา
การผ่าตัด
Percutaneous Nephrostomy (PCN) เป็นหัตถการที่ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะอุดตันของทางเดินปัสสาวะ เพื่อให้มีการระบายน้ำปัสสาวะออกชั่วคราว โดยการสอดสายระบายน้ำปัสสาวะผ่านทางผิวหนังเข้าไปที่กรวยไต หัตถการนี้มีผลข้างเคียงน้อยกว่าการผ่าตัด จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยที่ไม่ต้องการผ่าตัด หรือผู้ที่มีความเสี่ยงสูงหากรักษาด้วยการผ่าตัด
-
Adjuvant การให้เคมีแก่ผู้ป่วยที่เซลล์มะเร็งยังไม่แพร่กระจาย แต่ให้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายในอนาคต การให้ยาเคมีบำบัดเสริมภายหลังการผ่าตัด
Concurrent chemoradiotherapy (CCRT)การให้เคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกที่มีการแพร่กระจายหรือมีความเสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำ
(Palliative care)การดูแลตามอาการ (Supportive care) การดูแลแบบประคับประคองสามารถกระทำได้ในผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกระยะ มุ่งเน้นในการบรรเทาความเจ็บปวด ทุกข์ทรมาน และปรับปรุงให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมถึงการดูแลรักษาอาการต่าง ๆ
Neoadjuvant therapyการให้เคมีบำบัดก่อนการผ่าตัดเพื่อให้ขนาดของมะเร็งลดลงก่อนการผ่าตัด เป็นการให้สารเคมีเพื่อไปทำลายเนื้อมะเร็ง
CA Endometrium
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกเป็นมะเร็งเกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล์ภายในมดลูก โดยมีปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่ ความอ้วน ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง อายุมาก การได้ฮอร์โมนทดแทน ยาบางชนิด พันธุกรรม ส่วนใหญ่วินิจฉัยได้ตั้งแต่ระยะแรก โดยผู้ป่วยมักมาด้วยอาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดแบ่งตามพยาธิสภาพได้ 2 ชนิดคือ
1.ฮอร์โมน Estrogenฮอร์โมนที่สร้างจาก รังไข่ในช่วงต้นของรอบเดือน ซึ่งฮอร์โมนนี้จะส่งผลให้มีการสร้างเยื่อบุโพรงมดลูกเพื่อ เตรียมร่างกายให้พร้อมต่อการตั้งครรภ์ เมื่อมีการตกไข่เกิดขึ้นก็จะทำให้มีการหลั่งฮอร์โมน โปรเจสเตอโรนออกมาเพื่อช่วยสนับสนุนไข่ที่มีการปฏิสนธิแล้ว แต่หากไม่มีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น ระดับของฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดก็จะลดลง
2.ฮอร์โมน Progesteroneการลดลงของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะกระตุ้นให้เยื่อบุมดลูกลอกตัวออกมากลายเป็นประจำเดือน ดังนั้นการทำงานที่สัมพันธ์กันของทั้งสอง ฮอร์โมนนี้จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้เยื่อบุมดลูกหนาตัวขึ้นและลอกตัวออกเมื่อไม่มีการ ตั้งครรภ์ตามที่ควรจะเป็น แต่หากมีฮอร์โมนชนิดใดชนิดหนึ่งมากเกินไปหรือน้อยเกินไปจนทำให้เกิดการไม่สมดุลกัน
ก็จะทำให้เกิดภาวะเยื่อบุมดลูกหนาตัวกว่าปกติ
สาเหตุ CA Endometriumเกิดจากการที่ร่างกายได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนมากเกินไป ทั้งที่เป็นฮอร์โมนจากภายใน คือ ร่างกายมีฮอร์โมนเอสโตรเจนมาก ซึ่งจะพบในคนอ้วนหรือภาวะไข่ไม่ตก (Anovulation) หรือได้รับฮอร์โมนจากภายนอก เช่น ยาฮอร์โมนหรืออาหารเสริม การที่ได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนมาก การกระตุ้นเยื่อบุโพรงมดลูกให้แบ่งตัวมาก อาจเกิดเป็นเซลล์ผิดปกติและเป็นมะเร็งได้
ภาวะเเทรกซ้อน
-อาการปวด เมื่อมะเร็งแพร่กระจายไปยังปลายประสาท, กระดูกหรือกล้ามเนื้อ จะเป็นสาเหตุให้มีอาการปวดรุนแรง
-ไตวาย (kidney failure) ไตมีหน้าที่ในการกำจัดของเสียออกจากเลือด โดยของเสียจะถูกกรองออกมาเป็นปัสสาวะและไหลผ่านท่อไต (ureters) ไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะก่อนขับถ่ายออกจากร่างกาย
ในผู้ป่วยบางรายที่เป็นมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกระยะแพร่กระจาย ก้อนมะเร็งสามารถกดเบียดที่ท่อไต
-ลิ่มเลือดอุดตัน เช่น เดียวกับมะเร็งชนิดอื่นๆ มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกสามารถทำให้เลือดมีความหนืดมากขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเกิดลิ่มเลือดอุดตันได้
โครงสร้างของผนังมดลูก แบ่งออกเป็น 3 ชั้นใหญ่ ๆ คือ
- ชั้นนอกสุดเรียกว่า perimetrium หรือ serosa ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อบุช่องท้องลงมาคลุมมดลูก
- ชั้นกลางเรียกว่า myometrium ประกอบด้วยชั้นของกล้ามเนื้อเรียบที่ มีการเรียงตัวทั้งแบบตามยาว วงกลม และแบบเฉียง
- ชั้นในสุดเรียกว่า endometrium ชั้นนี้จะมีเยื่อบุผิวชนิด simple columnar epithelium มี cilia ปะปนอยู่ ภายในมีต่อมชนิด simple coiled tubular gland ที่เรียกว่า uterine gland นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอยู่กันอย่างหลวม ๆ เรียกว่า stroma และหลอดเลือดที่มีลักษณะขดไปมาเรียกว่า spiral (coiled) artery
-
ข้อมูลผู้ป่วย
-
อาการปัจจุบัน(Present illness)มีอาการท้องโตที่หน้าท้องส่วนล่างมาก่อน 2วัน ก้อนโตที่หน้าท้องมีก้อนขนาด2.5*2 CM ที่ Left lower abdominal On สาย PCN
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด: Percutaneous nephostomy เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past History: P.H.) ผู้ป่วยเคยได้รับการรักษา CABG : Coronary Artery Bypass Graft ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ มาแล้ว 1 ปี 6 เดือน มีโรคประจำตัวความดันและไขมันมานาน15ปีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family History: F.H.) ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว การวินิจฉัย CA Endometrium Admit 24/ตุลาคม/2563