Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ, นางสาววิไลพร คงราศรี นักศึกษาพยาบาลศาสตร…
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ
ประเมินความเสี่ยง
Risk 1: สีเหลือง
: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงน้อย สามารถดูแลที่โรงพยาบาลต้นสังกัด/ รพ.สต.ได้
Risk 3: สีแดง
: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง ต้องส่งดูแลต่อที่โรงพยาบาลศูนย์/ รพ.ที่มีแพทย์เฉพาะทาง
Risk 2: สีส้ม
: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงปานกลาง ส่งมาดูแลต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย/ รพช.
ปกติ: สีเขียว
: หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความเสี่ยงใดๆ
แนวทางการดูแล
อายุ < 17 ปี (นับถึง EDC)
– ภาวะโลหิตจาง (ปฏิบัติเหมือนข้อ 12)
– ความดันโลหิตสูง (ปฏิบัติเหมือนข้อ 9)
– คลอดก่อนก้าหนด: ควรสอนหรือแนะน้าให้สังเกตอาการเจ็บครรภ์คลอด/ น้้าเดินตั้งแต่อายุครรภ์ 27 สัปดาห์ หากมีอาการให้ส่งพบแพทย์ทันที
o ดูแลองค์รวมทั้งเรื่องสภาพจิตใจ สังคมและครอบครัว
o คัดกรอง 8Q, 9Q หรือ พบนักจิตวิทยาทุกราย โดยให้เจ้าหน้าที่คัดกรองทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
อายุ ≥ 35 ปี (นับถึง EDC)
o ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน จากประวัติ LMP และการตรวจร่างกาย
– หากพบว่าขนาดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือจ้า LMP ไม่ได้ ให้ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม
o ควรส่งพบแพทย์ก่อนอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ เพื่อให้ค้าปรึกษาเรื่องการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (Prenatal diagnosis)
o เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูง
น้ำหนัก < 45 kg หรือ BMI < 19.8 kg/m2
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
ให้ MTV เสริมทุกราย
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ควรขึ้น 12.5-18 Kg
อ้วน หรือ BMI >29 kg/m2
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
แนะนำควบคุมอาหาร
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ ควรขึ้น 5-9 kg
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์
เลือดออกทางช่องคลอด
ส่งพบแพทย์หาสาเหตุ
เคยมีทารกตายในครรภ์
ซักประวัติ
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่ฝากครรภ์
ส่งพบแพทย์พร้อมทันที
เคยคลอดบุตรน้ำหนัก <2500 gm
ซักประวัติเพิ่มเติม
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่ฝากครรภ์
ให้ MTV เสริมทุกราย
แนวทางการดูแล
เคยคลอดบุตรน้ำหนัก > 4000 gm
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
วัดความดันโลหิตทุกครั้ง
ตรวจปัสสาวะดูโปรตีนและนำ้ตาลทุกครั้ง
ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์
ผ่าตัดคลอดหรืออวัยวะภายในระบบสืบพันธุ์
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
พบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์
การใช้สารเสพติด
ประเมินอายุครรภ์ท่แน่นอน
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครภ์
แนะนำเลิกหรือลดสารเสพติดที่ใช้อยู่
เฝ้าระหวังการคลอดก่อนกำหนด
ค่า Hb ครั้งแรกต่ำ
ซักประวัติโรคโลหิตจาง
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
เจาะเลือด
โรคทางอายุรกรรม
ส่งพบแพทย์ทันที และฝากครรภ์ที่รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
โรคความดันโลหิตสูง ให้หยุดยาทันทีที่ตั้งครรภ์
ป่วยทางจิต
ส่งพบจิตแพทย์ทุกราย
โรคเบาหวาน
หยุดยาเบาหวาน
ฝากครรภ์ที่ รพ.
ความดันโลหิต > 90 mmHg
เฝ้าระวังควมดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตรวจปัสสาวะดูโปรตีนและน้ำตาล
มีก้อนในอุ้งเชิงกราน
ส่งพบแพทย์ทันที
เ
แท้ง >3 ครั้งติดต่อกัน
ส่งพบแพทย์ทันที
ส่งพบเมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์
คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ซักประวัติ
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
คลอด 14-27 ส่งพบแพทย์ที่อายุครรภ์ 14 wk.
คลอด 28-36 ส่งพบแพทย์ที่อายุครรภ์ 16 wk.
Rh negative
lเจาะเลือดสามี
ต้องมาคลอดที่รพ.
โรคหัวใจ
ส่งพบแพทย์ทันที
โรคไต
ส่งพบแพทย์ทันที
ครรภ์แฝด
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
ครรภ์แฝดต้องฝากครรภ์ที่รพ.ที่มีสูติแพทย์เท่านั้น
นางสาววิไลพร คงราศรี นักศึกษาพยาบาลศาสตรชั้นปีที่ 3 เลขที่ 73 รหัสนักศึกษา 62115301078