Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Neonatal Jaundice
( ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด ) Neonatal-jaundice,…
Neonatal Jaundice
( ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด )
แบ่งออกเป็น2ชนิด
Physiological jaundice คืออาการที่ทารกตัวเหลืองจากสรีรวิทยาเนื่องจากตับของหารกยังทำหน้าที่ขับ bilirubin ได้ไม่สมบูรณ์มีอาการตัวเหลืองภายหลังเกิดไปแล้ว 24 ชั่วโมง
Pathological jaundice คืออาการตัวเหลืองจากพยาธิสภาพซึ่งมีสาเหตุมาจาก AB0 incompatibility,
Rh incompatibility, G6PD deficiency มีอาการตัวเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
-
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
พบมีอาการตัวเหลือง ซึม ไม่ดูคนม ตัวอ่อน ร้องกวน มีไข้ ตรวจร่างกายตามระบบเพื่อวินิจฉัยแยกโรคจะปัญหาอื่น เช่นการติดเชื้อในกระแสเลือดหรือโรคตับ
การซักประวัติ
1.อายุของทารกที่เริ่มตัวเหลือง สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของตับ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนตั้งแต่กำเนิด ภาวะ พร่องเอ็นไซม์ G6PD
- ประวัติหมู่เลือดของมารดา อาจเกิดจากเข้ากันไม่ได้ของหมู่เลือดระบบ ABO
การตรวจหมู่เลือดและRh ของมารดาและทารก เพื่อคำนึงถึงPhysiological jaundice และ Pathological jaundice จากการที่ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่ายจากหมู่เลือดของมารดาและของ ทารกไม่เข้ากัน (Blood group incompatible) ซึ่ง ABO incompatibility ในมารดาที่มีเลือดกลุ่มโอและบุตรมีเลือดกลุ่มเอหรือบีและ Rh incompatibility
-
4.ซักประวัติการให้นมบุตรของมารดาประเมินว่าทารกได้รับนมเพียงพอหรือไม่และชั่งน้ำหนักประเมินการเปลี่ยนแปลงของทารก
-
Case 6 ข้อมูล รอบที่ 1มารดาหลังคลอด GA 36+5 Wk. คลอด Cesarean section due to Prolonged second stage of labour under spinal block with MO วันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลา 15.09 น. แผล C/s ไม่มี้bleed ซึม มดลูก หดรัดตัวดี BP 130/90 mmHg RR.22 ครั้ง/นาที P 78 ครั้ง/นาที T 37.5ทารกแรกเกิดเพศหญิงน้ำหนัก 2,200 กรัม Apgar score นาทีที่ 1 = 8 นาทีที่5 = 9 และ นาทีที่10 = 10 BT = 36.9 ㆍ C HR = 124 ครั้ง/นาที Head circumference 32 cm. Chest circumference 31 cm. Length 50 cm. วันที่ 6 สิงหาคม 2564 ทารกแรกเกิดมีค่า MB = 8.8% Hct = 49.8%
-
ข้อมูล รอบที่ 2วันที่ 7 สิงหาคม 2564 ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักทารกแรกเกิด 2,100 กรัม ค่า MB =12.8% Hct = 71.7%แพทย์ Rx. On Phototherapy , MB & Hct พรุ่งนี้เช้า
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล : การคั่งของบิลลิรูบินในกระแสเลือคเนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดงและการทำหน้าที่ของตับที่ยังไม่สมบูรณ์
ข้อมลสนับสนุน
OD : มารดาหลังตลอด GA 36 +5 wk, ทารกแรกเกิดเพศหญิงน้ำหนัก 2,200 กรัมApgar Score นาทีที่ 1 =8 นาทีที่ 5 = 9-และนาทีที่ 10 = 10 , MB=8.8% (6/08/64), MB=18.8%(7/09/64) Hct = 49.86%(6/09/64) แม่หัวนมบอด 1 ข้าง ลูกดูดได้ข้างเดียว
-
เกณฑ์การประเมินผล
ทารกไม่มีอาการ และอาการแสดงของภาวะ hyperbilirubinemiaคือ ใบหน้า ตา แขนขา มีลักษณะเหลืองเป็นบางส่วนหรือทุกส่วน
ผลตราวจทางห้องปฏิบัติการ ด่า MB <หรือ= 5mg % , HCT= 55-68%
-
-
พยาธิสภาพ
เกิดจากสารสีเหลืองที่เรียกวา บิลิรูบิน ( ่ Bilirubin) ในเลือดสูงกวาปกติ เกิดเนื่องจากเม็ดเลือดแดงของทารกที่หมดอายุซึ่งจะถูกทําลายที่ตับและม้าม เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก สารสีเหลืองบิลิรูบินในเลือดจะถูกปล่อยออกมา แต่เนื่องจากตับของทารกยังทําหน้าที่ไม่สมบูรณ์ทําให้การขับถ่ายสารสีเหลืองออกจากร่างกายไม่ดีเท่าที่ควร จึงทําให้สารสีเหลืองคังค้างในร่างกายมากขึ้นและจับตามผิวหนัง ทําให้มองเห็นผิวหนังทารกเป็ นสีเหลืองถ้าระดับบิลิรูบินสูงมากทําให้เด็กมีอาการทางสมองจากภาวะตัวเหลืองได้(Kernicterus) และถ้าบิลิรูบินสูงเกิน 20 มิลิกรัมเปอร์เซ็นต์ อาจมีผลต่อการได้ยินของเด็ก
-