Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ - Coggle Diagram
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ
แนวทางการจัดการภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ (Fast Track for High Risk Pregnancy)
Risk 1: สีเหลือง
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงน้อย สามารถดูแลที่โรงพยาบาลต้นสังกัด/ รพ.สต.ได้
อายุ < 17 ปี อายุ ≥ 35 ปี
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ < 45 kg หรือ BMI < 19.8 kg/m2 อ้วน หรือ BMI > 29 kg/m2
เลือดออกทางช่องคลอด ตั้งครรภ์ ≥ 3 ครั้ง
เคยมีทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด (1 เดือนแรก) เคยมีประวัติแท้งผิดปกติ (Unsafe abortion)
เคยคลอดบุตรน้ำหนัก < 2,500 gm
เคยคลอดบุตรน้ำหนัก > 4,000 gm
เคยเข้ารับการรักษาเพราะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ หรือครรภ์เป็นพิษ
เคยผ่าตัดคลอดบุตร หรือเคยผ่าตัดอวัยวะภายในระบบสืบพันธุ์ เช่น เนื้องอกมดลูก รังไข่
ติดยาเสพติด ติดสุรา ติดบุหรี่
ค่า Hb เมื่อฝากครรภ์ครั้งแรกต่ำ (ไตรมาสแรก < 11 g/dl, ไตรมาสที่สอง
Risk 2: สีส้ม
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงปานกลาง ส่งมาดูแลต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย/ รพช.
ภาวะโลหิตจางจาง (ธาลัสซีเมีย มีภาวะซีดมากต้องเติมเลือด), ไทรอยด์, SLE, ติดเชื้อ HIV
โรคเบาหวาน (DM/ GDM )
ความดันโลหิต Diastolic ≥ 90 mmHg
มีก้อนในอุ้งเชิงกราน
เคยแท้ง ≥ 3 ครั้งติดต่อกัน ในช่วงไตรมาสที่ 2
ป่วยทางจิต
เคยผ่าตัดปากมดลูก
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
Rh negative
Risk 3: สีแดง
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง ต้องส่งดูแลต่อที่โรงพยาบาลศูนย์/ รพ.ที่มีแพทย์เฉพาะทาง
โรคไต
ครรภ์แฝด
โรคหัวใจ
ปกติ: สีเขียว
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความเสี่ยงใดๆ
แนวทางการส่งต่อในระยะคลอดที่มีความเสี่ยง
พิจารณา refer รพ.แม่ข่าย
ระยะที่2 ของการคลอด
มารดาแบ่งคลอดนานกว่า 15 นาที
Feiled V/E (ดึงไม่ลงหรือ cup slip 1 ครั้ง)
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 /min สูงกว่า 160 /min
EFM ผิดปกติ
ระยะที่1 ของการคลอด
ความดันโลหิตสูง มากกว่า160/110 mmHg
มีภาวะรกเกาะต่ำ เลือดออกทางช่องคลอดไม่ทราบสาเหตุ
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ สายสะดือย้อยหลังน้ำเดิน
มดลูกเปิดน้อยกว่า 5 ซม. EFE ผิดปกติ
รพ.ที่อยู่ห่าง รพ.แม่ข่าย 4 ซม.
ให้ refer เมื่อ Partograph แตะ alert line
รพ.ที่อยู่ห่าง รพ.แม่ข่าย 3 ซม.
ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 1 ซม.
รพ.ที่อยู่ห่าง รพ.แม่ข่าย 1ซม.
ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 3 ซม.
รพ.ที่อยู่ห่าง รพ.แม่ข่าย 2ซม.
ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 2 ซม.
ระยะที่3 ของการคลอด
ล้วงรกไม่สำเร็จ มีภาวะตกเลือด รกไม่ลอกตัว
มีภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่มี active bleeding
ระยะที่4 ของการคลอด
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขได้
ไม่สามารถแก้ไขภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถ curettage ได้
พยาบาลห้องคลอด
รายงานแพทย์เวร (รพช.)
ระยะที่1 ของการคลอด
เลือดออกทางช่องคลอด
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
สายสะดือย้อยหลังน้ำเดิน
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 /min สูงกว่า 160 /min
EFM ผิดปกติ น้ำคร่ำเดินมากกว่า18 ซม. partograph ผิดปกติ
ระยะที่2
ของการคลอด
มารดาแบ่งคลอดนานกว่า 50 นาทีในครรภ์ 30 นาทีในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่าต่ำกว่า 110 /min สูงกว่า 160 /min
EFM ผิดปกติ
ระยะที่3
ของการคลอด
ตกเลือดหลังคลอดมาก v/s
เปลี่ยนแปลงมากกว่า 110 /min
ความดันโลหิต น้อยกว่า 90/60 mmHg.
รกไม่คลอดภายใน 30 นาที
แผล Episiotomy ลึกและกว้างมาก
ระยะที่4
ของการคลอด
ตกเลือดหลังคลอดมากกว่าปกติ
v/s เปลี่ยนแปลงมากกว่า 110 /min
ความดันโลหิต น้อยกว่า 90/60 mmHg.
กิจกรรมการพยาบาล
ห้องคลอด (รพช.)
ประเมินเบื้องต้นแรกรับ
ซักประวัติทั่วไป ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต ปัจจุบัน โรคประจำตัว อาการผิดปกติ
ดูรายงานการฝากครรภ์อย่างละเอียด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะที่1 ของการคลอด
ระยะที่เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 3 ซม. บางตัว 100% หรือเปิด 4 ซม. บางตัว 80% (latent)
ระยะที่ปากมดลูกเปิด 3 ซม. และบางตัว 100% หรือ เปิด 4 ซม. บางตัว 80% จนปากมดลูกเปิดหมด (Active phase)
ระยะที่2 ของการคลอด
บันทึกชีพจร อัตราการหายใจ ความดันโลหิตสูง
ทุก 30 นาที หดรัดตัวของมดลูก
จดบันทึกรายละเอียดขณะคลอดในใบบันทึกการคลอด
ระยะที่3 ของการคลอด
บันทึกการหายใจ ชีพจร ความดันโลหิตของผู้คลอดทุก 15 นาที หดรัดตัว ปริมาณเลือด การรักษาที่ได้รับ
ระยะที่4 ของการคลอด
หลังจากคลอด 2 ชั่วโมง ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพของมารดาหลังคลอด การหดรัดตัว แผลฝีเย็บ full bladder ปริมาณเลือดทุก 15 นาที 4 ครั้ง และออกทุก 30 นาที 2 ครั้ง
รพ.แม่ข่าย พิจารณา
refer รพ.ศ
ระยะที่1 และ2 ของการคลอด
ไม่สามารถผ่าตัด c/s ได้ Preterm labour
ที่GA <34 wks.ไม่มีกุมารแพทย์
ไม่มีเลือดสำรอง Hct< 30% Hb.<10 gm/dl มี Antepatum hemorrhage.
ระยะที่3
ของการคลอด
ล้วงรกไม่สำเร็จ มีภาวะตกเลือด รกไม่ลอกตัว
มีภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถผ่าตัด Hysterectomy ได้ ไม่มีเลือดสำรอง
ระยะที่4
ของการคลอด
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขได้มีภาวะตกเลือด
ภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถผ่าตัด Hysterectomy ได้ ไม่มีเลือดสำรอง