Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
John Forbes Nash - Coggle Diagram
John Forbes Nash
-
-
-
-
-
-
การรักษา
การรักษาด้วย ECT
ข้อจำกัด
-
-
1.Brain tumor, Brain edema, cerebral hemorrhage เพราะการทำ ECT จะทำให้ความดันในสมองเพิ่มขึ้น
-
5.ผู้ป่วยติดเชื้อที่มีไข้สูง, ร่างกายอ่อนแอหรืออ่อนเพลียมาก
ข้อบ่งชี้
- ผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้าทุกชนิดเพื่ป้องกันการฆ่าตัวตาย รวมถึงผู้ป่วยที่ไม่ยอมกินน้ำ กินอาหาร ที่อาจทำให้เสียชีวิตได้
- ผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติทางอารมณ์ ( Mood disorder)
- ผู้ป่วยจิตเภทชนิดคลั่งหรือซึมเฉย (Catatonic schizophrenia)
- ผู้ป่วย Bipolar disorder ในระยะคลั่งและระยะเศร้า
- ผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติทางจิตที่รักษาด้วยยาและวิธีอื่นๆ ไม่ได้ผล
-
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนทำECT
- งดน้ำ งดอาหารหลังเที่ยงคืนจนเสร็จสิ้นกระบวนการรักษา
- ทำความสะอาดร่างกาย สระผม ตัดเล็บให้สั้น ไม่ทาเล็บมือ-เล็บเท้า
- นอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
- สวมเสื้อผ้าสะอาด ผมแห้ง ไม่ทาแป้งบริเวณใบหน้า ไม่สวมเครื่องประดับใดๆ
- หากมีภาวะความดันโลหิตสูง จิตแพทย์จะพิจารณาให้ยาลดความดันในเวลา 06.00 น. และดื่มน้ำได้ไม่เกิน 30-60 ซีซี
- ถอดฟันปลอม หากมีปัญหาฟันผุ ฟันโยกต้องแจ้งพยาบาลก่อนเสมอ
-
การพยาบาลหลังทำECT
- หากปวดเมื่อยจากการเกร็งกล้ามเนื้อ ให้ประคบร้อนหรือประคบเย็น หรือนวดเบาๆ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
- หากมีภาวะหลงลืม ให้ญาติช่วยกระตุ้นความจำของผู้ป่วย ความทรงจำจะค่อยๆ ฟื้นตัวภายในระยะเวลา 2สัปดาห์ – 6 เดือน
- ปวดศีรษะ ให้ประคบเย็นแล้วนอนพัก 30 นาที - 2ชั่วโมง หากอาการไม่ดีขึ้นสามารถทานยาบรรเทาปวดได้
-
การรักษาด้วยยา
ควบคุมอาการให้สงบลง
Thorazine
-
รักษาอาการผิดปกติทางจิตและอารมณ์ เช่น โรคจิตเภท(manic),วิตกกังวล
-
การพยาบาล
-
-
-
-
-
- แนะนำผู้ป่วยให้เปลี่ยนอิรอิยาบถช้าๆ เพราะอาจหน้ามืด ล้มเกิดอุบัติเหตุได้
7.แนะนำให้ผู้ป่วยระวังการถูกแสงแดด ให้สังเกตผิวแดงและคล้ำจากการโดนแสงแดด อาการคันมีตุ่มพอง เนื่องจากยาอาจทำให้เกิดการแพ้แสง
- ไม่ใช้ร่วมกับยาลดความดันโลหิต ยานอนหลับ
Diazepam
-
-
-
การพยาบาล
- ระแลระมัดระวังอันตรายต่างๆ หากผู้ป่วยต้องได้รับยากลับไปทานที่บ้าน แนะนำให้หลีกเลี่ยงการขับรถ การใช้ของมีคมเพราะยามีผลทำให้ง่วงนอน
- ดูแลไม่ใช้ยาร่วมกับยากดประสาท ยานอนหลับ สุรา
- ให้ความรู้ผู้ป่วยเรื่องอาการข้างเคียงของยา เช่น ยาจะกดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้มีอาการง่วงซึม ทำให้ความสามารถในการคิด จำและการตัดสินใจลดลง สมาธิลดลง การควบคุมแขนขาไม่สัมพันธ์กัน ไม่มีแรง
- แนะนำผู้ป่วยที่ติดยาเนื่องจากต้องใช้ยาเป็นเวลานานและปริมาณสูง ไม่ให้หยุดยาเอง เพื่อป้องกันอาการขาดยา ควรให้แพทย์เป็นผู้ลดยาให้
-
-
ควรได้รับการรักษาหรือไม่
ควรได้รับการรักษาเพราะว่ามีอาการและอาการแสดงของการรับรู้ผิดแปลกไปจากความเป็นจริงส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันและอาจเป็นอันตรายได้