Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรดไหลย้อน (acid reflux), สาเหตุของกรดไหลย้อนและวิธีรักษา…
กรดไหลย้อน
(acid reflux)
1.อาการของ
โรคกรดไหลย้อน
1.อาการที่สำคัญ
• ความรู้สึกเปรี้ยวหรือขมในปากและคอ
• มีอาหารย้อนขึ้นมาในปากและคอ
• ความรู้สึกแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่ กลางหน้าอก
• จุกเสียด แน่นท้องบริเวณลิ้นปี่
2.อาการอื่นๆ
• เสียงแหบเรื้อรัง เสียงเปลี่ยน
• กลืนติดขัดเหมือนมีก้อนจุกในคอ
• อาการเจ็บหน้าอกที่ไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจ
• อาการทางช่องปาก เช่น ฟันผุ มีกลิ่นปาก
2.สาเหตุและปัจจัยของ
โรคกรดไหลย้อน
2.ความผิดปกติในการ
บีบตัวของหลอดอาหาร
คือ อาหารที่ไหลย้อนขึ้นมาจากกระเพาะอาหาร
ค้างอยู่ในหลอดอาหารนานกว่าปกติ
1.ความผิดปกติของหูรูด
ส่วนปลายหลอดอาหาร
อาจเกิดจากดังต่อไปนี้
1.2.สูบบุหรี่
1.3.ยาบางชนิด
คือ
ยารักษาโรคหอบหืดบางตัว
1.1.ดื่มแอลกอฮอล์
3.ความผิดปกติของการบีบตัว
ของกระเพาะอาหาร
คือ ทำให้อาหารค้างอยู่ใน
กระเพาะอาหารนานกว่าปกติ
4.พฤติกรรมในการ
ดำเนินชีวิต
เช่น
3.1.เข้านอนทันทีหลังรับประทานอาหาร
3.2.รับประทานอาหารปริมาณมากในหนึ่งมื้อ
5.โรคอ้วน
ทำให้เพิ่มแรงกดต่อกระเพาะอาหาร
และทำให้กรดไหลย้อนกลับ
6.การตั้งครรภ์
ฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้น
ขณะตั้งครรภ์
6.1.ทำให้ หูรูดหลอดอาหารอ่อนแอลง
6.2.ทำให้ มดลูกที่ขยายตัวจะเพิ่มแรงกด
ต่อกระเพาะอาหาร
4.วิธีการป้องกัน
ของโรคกรดไหลย้อน
4.2.หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย
ที่มีการก้มหรือโค้งตัวไปด้านหน้า
4.3. รับประทานบ่อยโดยแบ่ง
เป็นมื้อเล็กๆ แทนมื้อใหญ่
4.1.งดสูบบุหรี่
4.4.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ทุกชนิด กาแฟ ชา น้ำอัดลม
4.5.หลีกเลี่ยงอาหารทอด อาหารมัน ช็อคโกแลต
พืชตระกูลหอม เช่น หอมใหญ่ ต้นหอม
5.วิธีการรักษา
ของโรคกรดไหลย้อน
5.1.ควรพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยตามอาการ
5.2.การรับประทานยาจะช่วยบรรเทาอาการในกรณี
ที่อาการกรดไหลย้อนรบกวนชีวิตประจำวัน
3.การวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อน
3.2.การตรวจเพิ่มเติม
3.2.1. รับการรักษาเบื้องต้น
แล้วอาการไม่ดีขึ้น
เช่น
3.2.1.2.อาเจียนบ่อยๆ
3.2.1.1.กลืนลำบาก
3.2.1.3.มีประวัติอาเจียน
เป็นเลือด
3.2.1.4.ถ่ายอุจจาระดำ
3.2.1.5.น้ำหนักลด
3.2.2.อาจจำเป็นต้องได้รับการ
วินิจฉัยพิเศษเพิ่มเติม
เช่น
3.2.2.1.การส่องกล้อง
ทางเดินอาหาร
3.2.2.2.การเอกซเรย์
กลืนสารทึบแสง
3.2.2.3.การตรวจวัดความเป็น
กรด-ด่างในหลอดอาหาร
3.1.การซักประวัติและ
การตรวจร่างกายทั่วไป
โดยทั่วไปแพทย์จะวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อน
โดยใช้อาการของผู้ป่วยเป็นหลัก
ยกตัวอย่าง