Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประโยค, นามวลี, ส่วนประกอบของประโยค - Coggle Diagram
ประโยค
ชนิดของประโยค
ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง
ประโยคสามัญ
; ไม่มีอนุประโยคขยาย และไม่มีคํากิริยาเชื่อม คําวลีกริยา หอกเชื่อมประโยค ประโยคสามัญแบ่งได้ ๒ ชนิด
กริยาวลีเดียว คือมีกริยาวลีเพียง ๑ กริยาวลี
บ้านสีครีมหลังนั้น
สวย
ง่วงเหลือเกิน
น้อง
ถูกดุ
หลายกริยาวลี แม้จะมีหลายกริยาวลี แต่ต้องไม่มีคําเชื่อมกริยาวลีเหล่านั้น
เก๋
นอนร้องเพลงในห้องนั่งเล่น
คุณปู่
เดินไปใส่บาตรหน้าบ้าน
ประโยคซ้อน
;ประกอบด้วยประโยคหลัก กับ อนุประโยค
ประโนคหลัก
เป็นส่วนหนึ่งของประโยค ได้แก่ เป็นประธาน เป็นหน่วย เติมเต็ม หรือขยาย
อนุประโยค
ขึ้นต้นด้วยคำเชื่อม อนุประโยคทําหน้าที่อย่างนามวลีคือ เป็น ประธาน กรรม หน่วยเติมเต็มหรือส่วนขยาย
คุณานุประโยค(ที่ ซึ่ง อัน)
เสื้อ
ที่พี่พัชนีสวมอยู่
สวยมาก
วิเศษณานุประโยค ;คำกริยาวลี
เด็ก ๆ กลับไป
หลังเลิกงานแล้ว
นามานุประโยค (ที่ ที่ว่า ว่า ให้)
ที่เขาเล่ามานั้น
ถูกต้องแน่นอน
ประโยครวม คือ ประโยคย่อยตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมเข้าเป็นประโยคเดียวกัน และต้องมีคำเชื่อม และ
และก็ แต่ แต่ทว่า หรือ
ทำหน้าที่เชื่อมประโยคย่อย
พ่อจะไปบางลำพู
และ
แม่ก็จะไปด้วย
หมอจะไปหาคนไข้
หรือ
จะให้คนไข้มาหาหมอ
ชนิดของประโยคที่แบ่งตามมาลา
ประโยคคำถาม:แสดงคําถาม ( ใคร อะไร ไหน ฯลฯ ) ประโยคคําถามสามารถ แบ่งได้ ๒ ชนิดคือ
ประโยคคำถามที่ต้องการการตอบรับหรือปฏิเสธ (ไหม หรือ)
ถาม เธอจะไปห้อ
งสมุดกับฉัน
ไหม
ตอบรับ ไปค่ะ
ประโยคคำถามที่ต้องการข้อเท็จจริง
ถาม กำลังทำอะไร
ตอบ เตรียมอาหารตักบาตรค่ะ
ประโยคคำสั่ง:ใช้สั่งหรือขอร้องผู้ใดผู้หนึ่งทําอย่างใดอย่างหนึ่งให้ โดยมี ๓ ลักษณะ คือ
ประโยคคำสั่งเริ่มต้นด้วยคำกริยา
เข้า
มาซิ ,
ไป
นอนเสีย ดึกแล้ว
ประโยคคำสั่งเริ่มต้นด้วยคำบ่งชี้แสดงคำสั่งหรือขอร้อง
(จงให้ กรุณาโปรด ช่วย)
จง
ตอบคำถามต่อไปนี้ ,
ห้าม
ส่งเสียงดังในห้องเรียน
ประโยคคำสั่งที่ขึ้นต้นด้วยคำเรียกขาน
ประวิทย์
มาหาครูหน่อย
ประโยคบอกเล่า : เนื้อหาเล่าเรื่องราวต่างๆ อาจขึ้นต้นด้วย คํากริยา
เกิดไฟไหม้ใหญ่ที่จังหวัดเชียงใหม่
ประโยคปฏิเสธ: ประโยคบอกเล่า คําถาม คําสั่ง อาจมีคําปฏิเสธอยู่ด้วยทําให้กลายเป็นประโยคปฏิเสธ คําปฏิเสธได้แก่คำว่า
ไม่ มิใช่ เปล่า มิได้ หามิได้ ห้าม อย่า ฯลฯ
ฉันไม่ชอบเขา,อย่าพูดเสียงดัง
ชนิดของประโยคที่แบ่งตามเจตนา
ประโยคขอร้อง
ช่วย
ไปยืมหนังสือที่ห้องสมุดให้
ทีนะ
ประโยคขู่
ถ้า
เธอไม่เปิดประตู
ประโยคคาดคะเน
ไพรัช
คง
ไม่ไปโรงเรียนแล้ว
ประโยคชักชวน;เจตนาให้ผู้ฟังคล้อยตาม
เราไปดูละคร
กัน
ดีกว่า
ประโยคถาม;มักมีคำว่า (ใคร อะไร ไหน อย่างไร ฯลฯ )
ใคร
อยู่ในห้อง
ประโยคห้าม;สั่งให้ผู้ฟังไม่ทํา
ห้าม
บีบแตรในโรงพยาบาล
ประโยคสั่ง;บังคับให้ผู้ฟังปฏิบัติตาม
ต้อง
ทำการบ้านให้เสร็จก่อน
นะ
ประโยคเสนอแนะ;ผู้พูดเสนอข้อคิดเห็นให้ผู้ฟัง
ไปชวนเตย
ซิ
ยังว่างอยู่
ประโยคบอกให้ทราบ;บอกกล่าว อธิบายเรื่องต่างๆ
คุณตาลชอบกินขนมไทย ๆ
ข้อบกพร่องของประโยค
ประโยคบกพร่อง
ภาษาฟุ่มเฟือย,ประโยคกำกวม,การเรียงลำดับคำในประโยคไม่ถูกต้อง,ประโยคไม่สมบูรณ์,ประโยคขาดความสัมพันธ์กัน
การใช้สํานวนผิด
การใช้สำนวนเปรียบเทียบผิด,การใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ
การใช้ค้าผิด
ใช้ไม่ตรงความหมาย,ไม่เหมาะกับกาลเทศะ/บุคคล,
ใช้ภาษาพูด,ใช้อาการประพันธ์ผิดระดับภาษา,ใช้คำภาษาต่างประเทศ,ใช้คิดหลักใช้คำราชาศัพท์ผิด,ใช้คำบุพบท สันธาน และลักษณนามไม่เหมาะสม,ใช้คำขัดแย้งผิดความจริง,ใช้คำไม่คงที่การใช้คำสะกดผิด
คือ หน่วยทางภาษาที่ประกอบด้วยคำหรือคำหลายคำเรียงต่อกัน มี ๒ ส่วน คือ นามวลีกับกริยาวลี ประโยคอาจมีเพียงกริยาวลีก็ได้ แต่จะมี
เพียงนามวลีไม่ได้
นามวลี
กริยาวลี
ภาคแสดง
เหนื่อย
เหนื่อย
เหนื่อยจนบอกไม่ถูก
เป็นคนอดทน
เป็นคนอดทนมากทีเดียว
เป็นคนอดทนจนใครๆ ต่างพากันยอมรับ
ควรมีวินัย
1 more item...
ประธาน
-
พ่อ
พ่อของผม
เพื่อน
เพื่อน ๒ – ๓ คนของฉัน
เพื่อน ๒ – ๓ คนที่ฉันรู้จักมาตั้งแต่สมัยเรียน
คนไทย
คนไทยรุ่นใหม่
1 more item...
ส่วนประกอบของประโยค