Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cellular Respiration - Coggle Diagram
Cellular Respiration
การทดลองที่ 1 ความสัมพันธ์ของ CO2 กับการหายใจระดับเซลล์
วัสดุและอุปกรณ์
ฟีนอลเรด 0.04% (ละลาย 0.04 กรัมฟินอลเรดในเอทิลแอลกอฮอล์) จนละลายและเติมน้ำจนครบ 100 มล. หยดแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 1 หยดเพื่อเปลี่ยนสารละลายจากสีเหลืองเป็นสารละลายสีแดง)
หลอดทดลอง 3 หลอด
ปากคีบ
บีกเกอร์
เมล็ดถั่วเขียวแห้งถั่วเพิ่งงอก 2 วันและถั่วเขียวที่ต้มแล้ว
หลอดหยด
วิธีการทดลอง
จากนั้นนำถั่วเขียวที่เตรียมไว้จำนวน 10 เมล็ดบรรจุลงในหลอดทดลองแต่ละชุดการทดลองตามที่กำหนด
หลอดที่ 1 ถั่วเขียวเพิ่งงอก 2 วัน
หลอดที่ 2 ถั่วเขียวเพิ่งงอกที่ต้มแล้วหลอดที่ 3
หลอดที่ 3 เมล็ดถั่วเขียวแห้ง
หลอดที่ 4 หลอดควบคุม
เช็คผลการเปลี่ยนแปลงสีทุกๆ 5 นาทีจนครบ 30 นาที
แบ่งสารละลายสีชมพูลงในหลออดทดลองทั้ง 4 หลอดในปริมาตรที่เท่ากัน
บันทึกผลการทดลอง
เติมน้ำบีกเกอร์ปริมาตร 150 มิลลิลิตรค่อยๆ หยดฟินอลเรดลงในน้ำจนกระทั่งได้สารละลายสีชมพูเข้ม
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของ CO2 กับการหายใจระดับเซลล์
การทดลองที่ 2 ความต้องการออกซิเจนในการหายใจของเมล็ดถั่วเขียวที่เพิ่งงอกอายุต่างกัน
วัสดุและอุปกรณ์
บีกเกอร์ขนาด 100 มล. บรรจุน้ำสีประมาณ 50 มล. จำนวน 3 ใบ
Filter flask ขนาด 500 มล. พร้อมจุกยางจำนวน 3 ชุด
สารละลาย Sodium hydroxide เข้มข้น 10 N
ปิเปตขนาด 1 มล. พร้อมท่อยางต่อจำนวน 3 ชุด
เมล็ดถั่วเขียวแห้ง เมล็ดถั่วเขียวที่เพิ่งงอก 1 และ 3 วัน (เพาะในที่มืด) อย่างละ 20 กรัม
ขวดขนาดเล็ก 3 ใบ
วิธีการทดลอง
นำเมล็ดถั่วเขียวแห้ง เมล็ดถั่วเขียวที่เพิ่งงอก 1 และ 3 วันอย่างละ 20 กรัมใช้แท่งแก้วเขียวเมล็ดถั่วให้อยู่รวมกันอีกด้านของ filter flask
หย่อนขวดบรรจุสารละลาย NaOH ลงไปตรงกลาง filter flask ปิดจุกยางให้แน่นทิ้งไว้สักครู่
จุ่มปลายปิเปตลงในน้ำให้น้ำเคลื่อนที่เข้าไปในปิเปตจนถึงขีด 0 หรือมากกว่าแล้วยก Pipette วางในแนวราบจากนั้นจึงต่อท่อยางที่ปลายปิเปตเข้ากับ Side arm ของ Filter flask ดังแสดงในภาพที่ 9
ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องและสังเกตปริมาตรของก๊าซใน Filter flask ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยสังเกตระยะที่หยดน้ำเคลื่อนที่เข้าไปในปิเปตในเวลา 10 - 20 นาที (การจีบเวลาของการเคลื่ออนที่ของน้ำอาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับอัตราการหายใจเมล็ดถั่ว แต่ให้หยดน้ำเคลื่อนที่เข้าไปไม่เกินขีด 1.0 มล.)
บันทึกผลการทดลอง
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความต้องการออกซิเจนของเมล็ดถั่วที่มีอายุต่างกัน