Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Covid-19 (ระยะ Severe pneumonia) - Coggle Diagram
Covid-19 (ระยะ Severe pneumonia)
พยาธิสภาพ
1) เมื่อเชื้อเข้าโพรงจมูกร่างกายจะกระตุ้นให้gablet cell ให้ผลิตมูกหรือน้ำมูกอกมา แต่เมื่อเข้าสู่olfactory epithelium (เยื่อบุผิวรับกลิ่น) ที่มีolfactory receptor neuron ได้ เชื้อจะมีการทำลาย ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถรับกลิ่นได้
2) และจะมีการกระตุ้น Cogh center ผู้ป่วยจึงเกิด
อาการไอ
3) เมื่อเชื้อ corona Virus เข้าสู่ระบบทางเดิน หายใจไปที่ปอด เข้าสู่ถุงลม ซึ่งถุงลม จะมี Cell 2ชนิดคือ Type 1 Alveolar cell หรือ Type 1 pneumocyte และ Type 2 pneumocyt (ซึ่งType 2 pnemocye จะทำหน้าที่สร้างสารSurfactant ในปอด ซึ่งช่วยไม่ให้ถุงลมปอดยุบตัวลง) เมื่อเชื้อเข้าไปจับกับ Angiotensin coverting enzyme 2 receptor ได้ ก็จะเข้าสู่ Cell Type 2pneumocye โดยกระบวนการ Phagocytosisและปล่อย + SSRNA หรือ positive sense singlestranded RNA ให้สร้าง Protein โดย ribosomeจึงได้ polyproteine ออกมา จากนั้นจะมีproteinase เข้ามาทำหน้าที่ในการตัด polyorotinให้เป็นโครงสร้างตามที่ไวรัสต้องการ จึงทำให้เกิดVirus เพิ่มมากขึ้น จึงทำลาย cell type 2 pneumocyte ทำให้การสร้างสาร Surfactantลดลง ผู้ป่วยจึงเกิดอาการหายใจลำบาก ทำให้ Co2ในร่างกายเพิ่มขึ้น O2 ในร่างกาย ลดลง การเสียสมดุลนี้จะไปกระตุ้น Chemoreceplor ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการหายใจเร็วขึ้น
4) ต่อไปเมื่อเชื้อไวรัส เพิ่มขึ้นมันก็จะปล่อยสารToxin ออกมากระตุ้นเม็ดเลือดขาว สร้างendogeneous progers ซึ่งจะ กระตุ้นผ่านprostaglandin ไปกระตุ้น hypothalamus ให้ปรับอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
5) ต่อไปเชื้อไวรัสนี้ก็จะไปทำลายปอดเกิดการอักเสบของ เนื้อปอด มีการทำลายเยื่อบุทางเดินหายใจ ทำให้ผนังถุงลมบวมมีการสร้างเสมหะมากกว่าปกติ
อาการ
อาการส่วนใหญ่ไม่ได้จำเพาะต่อโรค อาการและอาการแสดงมักแสดงภายใน 14 วันที่สัมผัสเชื้ออาการที่พบได้บ่อย ได้แก่ ไข้ไอ อ่อนเพลีย หายใจถี่หายใจ ลำบาก ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอน้ำมูกไหล ถ่ายเหลว คลื่นไส้อาเจียน สูญเสียการรับรสหรือกลิ่น เมื่อแบ่งระดับความรุนแรงของโรคตามอาการเป็น
อาการน้อยได้แก่ มีไข้ ไอ ไม่มีอาการเหนื่อยภาพถ่ายรังสีทรวงอกหรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกไม่พบความผิดปกติ
อาการปานกลางได้แก่ มีไข้ร่วมกับมีอาการทางระบบทางเดินหายใจ เหนื่อย หายใจเร็ว ภาพถ่ายรังสีทรวงอกหรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกพบความผิดปกติ
3.อาการรุนแรงได้แก่ หายใจเร็ว ความอิ่มตัวของออกซิเจนน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 93 .ในขณะพัก PaO2 /FiO2 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 300มิลลิเมตรปรอท ภาพถ่ายรังสีทรวงอกหรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกพบปอ แย่ลงมากกว่าร้อยละ50 ภายใน 1-2 วัน อย่างต่อเนื่อง
อาการวิกฤตได้แก่ มีการหายใจล้มเหลว ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ มีภาวะช็อค หรือมีอวัยวะระบบอื่นล้มเหลว
การวินิจฉัยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ SARS-CoV-2 ด้วยเทคนิค Real time PCR(polymerase chain reaction)
การรักษา
สำหรับการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ใน ประเทศไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดูแลรักษาแบ่งได้เป็น 3 กรณีดังนี้
Confirmed case แต่ไม่มีอาการ ให้การดูแลรักษาตามอาการ ไม่ให้ยาต้านไวรัส เพราะอาจหายได้เองและอาจได้รับผลข้างเคียงจากยา
Confirmed case with mild symptomsand noriskfactor คือผู้ป่วยยืนยันที่มีอาการภาพถ่ายรังสีปอดปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยงหรือโรคร่วมสำคัญพิจารณา ให้ยา 2 ชนิดนาน 5 วัน ได้แก่Chioroquine หรือ hydroxychloroquineร่วมกับยาต้านไวรัสเอดส์Lopinavirและ Ritonavir หรือDarunavir และRitonavir หรือ ยาต้านแบคทีเรียazithromycin หากภาพถ่ายรังสีปอด แย่ลงให้พิจารณาเพิ่ม favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน
Confirmed case with mild symptomsand risk factor คือ ผู้ป่วยยืนยัน ภาพถ่ายรังสีปอดปกติแต่มีปัจจัยเสี่ยงหรือโรคร่วมสำคัญ ให้ใช้ยาอย่างน้อย 2 ชนิด นาน 5 วัน ได้แก่ Chioroquineหรือhydroxychloroquineร่วมกับยาต้านไวรัสเอดสLopinavirและ Ritonavir หรือ DarunavirและRitonavirอาจพิจารณา ให้ยาชนิดที่ 3 คือ ยาต้านแบคทีเรีย azithromycin หากภาพถ่ายรังสีปอดแยลงให้พิจารณาเพิ่ม favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน
Confirmed case with pneumonia หรือภาพถ่ายรังสีปอดปกติ แต่มีอาการหรืออาการแสดงเข้า ได้กับ pneumonia และ ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ในเลือดที่ room air น้อยกว่าร้อยละ 95ให้ใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนิด นาน 10วัน ยกเว้นfavipiravir ได้แก่ Chioroquine หรือhydroxychloroquine ร่วมกับยาต้าน ไวรัสเอดส์Lopinavir และ Ritonavir หรือ Darunavir
สาเหตุ
ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) แพร่กระจายเชื้อได้จาก ละอองฝอยจากระบบทางเดินหายใจ ซึ่งหากร่างกาย สูดดมของผู้ติดเชื้อ จะสามารถรับเชื้อไวรัสโคโรนา เข้าสู่ร่างกายได้