Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ (Drugs acting on endocrine system) -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
(Drugs acting on endocrine system)
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ (Thyroid disorders)
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง (Hyperthyroidism)
เป้าหมาย
ลด
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในระดับปกติ
ยาที่ใช้
1.กลุ่ม thioamides
Propylthiouracil (PTU), Methimazole (MMI)
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง
hypothyroidism จากการได้รับยามากเกินไป
ตับอักเสบ สังเกตอาการตัวเหลือง ปัสสาวะสีดํา อุจจาระมีสีอ่อน ตรวจค่าการทํางานของตับ
กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว (agranulocytosis)
Iodides
นิยมใช้ลดขนาดต่อมและปริมาณเลือด
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง : พิษไอโอดีน (iodism) เช่น ต่อมน้ำลายอักเสบ มีไข ้ ผื่น
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา : อาหารที่มีไอโอดีนสูง เช่น อาหารทะเล
3.Radioactive iodine: การกินแร่
กลไกการออกฤทธิ์: ปล่อยรังสีเบต้าทําลายต่อมธัยรอยด์
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก และระวังภาวะโลหิตจาง เม็ดเลือดขาวต่ำ (leukopenia), เกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร
ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านธัยรอยด์ (PTU, MMI) ให้งดยา 3-7 วันลดการนํา radioactive iodine เข้าสู่ต่อมธัยรอยด์
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ (อาจเกิดภายใน 1 หรือ 2 ปี)
Iodine-131 (I-131) เป็นไอโซโทป ถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วและไปเก็บสะสมความเข้มข้นสูงที่ต่อมธัยรอยด์
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ (Hypothyroidism)
เป้าหมายเพิ่มระดับธัยรอยด์ฮอร์โมน
ให้อยู่ในระดับปกติ
ยาที่ใช้
Thyroxine (T4) ,Levothyroxine (T4)
ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T4 ที่ได้จากการสังเคราะห์ มีทั้งรูปแบบยากินและ รูปแบบยาฉีด
รูปแบบยาฉีด (IV) ใช้รักษาภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำระดับรุนแรง (myxedema coma)
ผลข้างเคียง : ได้รับยามากจะทําให้ ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูงทำให้ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ทนร้อนไม่ได้น้ำหนักลด
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา :ห้ามกินร่วมกับ
ยาลดกรดในกระเพาะ และยาลดไขมัน
Liothyronine (T3)
ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T3 ที่ได้จากการสงเคราะห์ มีทั้งรูปแบบยากินและ รูปแบบยาฉีด
รูปแบบยาฉีด (IV) ใช้รักษาภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำระดับรุนแรง (myxedema coma)
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา เช่นเดียวกับ levothyroxine (T4)
เบาหวาน (Diabetes mellitus, DM)
ภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) คือ ภาวะที่เซลล์มี
การตอบสนองต่ออินซูลินลดล
เบาหวานแบ่งเป็น 4 ประเภท
ประเภทที่ 2 : มีอินซูลินหลั่งออกมาจากตับอ่อน
น้อย
และเกิดการดื้อต่ออินซูลิน
ประเภทที่ 3 : จากสาเหตุอื่นๆ เช่น พันธุกรรม โรคตับอ่อน ยาบางชนิด เช่น ยากลุ่มเสตียรอยด์ เป็นต้น
ประเภทที่ 1 :
ไม่
มี อินซูลินหลั่งออกมาจากตับอ่อน
ต้องการอินซูลินจากภายนอกร่างกาย
ประเภทที่ 4 (gestational diabetes):โรคเบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ
มีระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูง (hyperglycemia) เพราะบกพร่องการหลั่งอินซูลิน และcell ในร่างกายไม่สามารถนําอินซูลินไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
การรักษา
1.ไม่ใช้ยา เช่น ควบคุมอาหาร ออกกําลัง
ใช้ยา
ยาฉีดอินซูลิน (insulin)
กลไกการออกฤทธิ์
เปลี่ยนกลูโคสเป็นกลับโคเจน (glycogen)
นําโปตัสเซียมและกลูโคสเข้าสู่เซลล์พร้อมกัน
นํากลูโคสจากเลือดเข้าสู่เซลล์
ข้อบ่งใช้
type I DM, gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลิน
เท่านั้น
type II DM ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น ใช้ยาตัวอื่นไม่ได้ผล เป็นโรคตับ หรือโรคไตระดับรุนแรง ผ่าตัด ติดเชื้อ และรักษาภาวะโปตัสเซยมในเลือดสูง
ลดระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วย DM.
ทุกประเภท
ผลข้างเคียง
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก หิว ปวดหัว สั่น อ่อนเพลีย หมดสติ
เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ติดตามประเมินอาการ ค้นหาความเสี่ยง ป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ
เกิดตุ่มนูนแข็ง จากการฉีดอินซูลินซ้ำที่ตําแหน่งเดิม
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์
เพิ่ม
ระดับน้ำตาลในเลือด จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและส่งผลให้อินซูลินไม่สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้
beta-blockers อาจบดบังอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น หัวใจเต้นเร็ว สั่น
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์
ลด
ระดับน้ำตาลในเลือด
จะเพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic drugs)
ข้อบ่งใช:้ type II DM
กลุ่ม Thiazolidinediones
Pioglitazone
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน (ลดการดื้อต่ออินซูลิน)
เพิ่มการนํากลูโคสเข้าเซลล์ และลดการสังเคราะห์กลูโคส
ผลข้างเคียง
เพิ่ม LDL cholesterol
บวมน้ำ (fluid retention)
พิษต่อตับ อาการที่บ่งบอก เช่น ตัวเหลือง ปัสสาวะสีดํา
กลุ่ม Alpha - glucosidase inhibitors
ชื่อสามัญทางยา : Acarbose
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์alpha- glucosidase และเอนไซม์amylase
ลดการย่อยและการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตเข้าสู่ร่างกาย
ข้อห้ามใช้ : ห้ามใชในผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร การทํางานของตับ/ ไต บกพร่อง
ผลข้างเคียง
ลดการดูดซึมธาตุเหล็ก ทําให้โลหิตจางและเป็นพิษต่อตับ เมื่อใช้ระยะยาว
ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องอืด ผายลมบ่อย
ข้อแนะนํา :รับประทานยาพร้อมอาหาร
กลุ่ม Biguanides
ข้อห้ามใช้ :ห้ามใช้กับผู้ป่วยโรคไต หัวใจวาย ระบบไหลเวียนล้มเหลว เพราะอาจทําให ้เกิดภาวะกรดแลกติคคั่งในเลือด (lactic acidosis)
ผลข้างเคียง
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ท้องเสีย แสบยอดอก
ขาดวิตามิน B12 และ folic acid ประเมินภาวะโลหิตจางและเสริมวิตามิน B12 และ folic acid
การคั่งของกรดแลคติก (lactic acidosis): หายใจหอบ เบื่ออาหาร ซึม ความดันโลหิตต่ำ
กลไกการออกทธิ์
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน และลดการสร้างกลูโคสจากตับ
เพิ่มการนํากลูโคสเข้าเซลล์กล้ามเนื้อและเพิ่มการใช้
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
แอลกอฮอล์ : เมื่อกินพร้อมกับยาจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกรดแลคติกคั่ง
ตัวยา
Metformin
กลุ่ม Incretin-based drugs (oral/ injection)
กระตุ้นตัวรับ GLP-1
ผลข้างคียง :เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน น้ำหนักลด ท้องเสีย ตับอ่อน อักเสบ
กลไกการออกฤทธิ์ :กระตุ้นตัวรับ GLP-1 ส่งผลให้มีการกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ยับยั้งการหลั่งกลูคากอน
ข้อห้ามใช้: ผู้ป่วยโรคไตวาย, ulcerative colitis, crohn’s disease
ชื่อสามัญทางยา : Exenatide, Liraglutide, Albiglutide, Dulaglutide
ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 (DPP-4 inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 ซึ่งเป็นเอนไซม์ทําลาย GLP-1 และGIP ทําให้ ลดการทําลายฮอร์โมน GLP-1 และ GIP
ผลข้างเคียง : การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน เยื่อจมูกอักเสบ
ชื่อสามัญทางยา : Sitagliptin, Vildagliptin, Saxagliptin
กลุ่ม Sulfonylureas
ผลข้างเคียง
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ : ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย สับสน ตาพร่า ปากหรือลิ้นชา มีอาการจะเป็นลม
น้ำหนักตัวเพิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง
ข้อห้ามใช้ :ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม sulfonamide
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
alcohol, NSAIDs, ยาปฏิชีวนะกลุ่ม sulfonamide,ranitidine, cimetidine : เพิ่มการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
beta-blockers เช่น propranolo : บดบังอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ ทําให้ยากต่อการสังเกต Pt.
alcohol : disulfiram-like reaction คลื่นไส้ อาเจียน หน้าแดง ใจสั่น
ตัวอย่างยา
Gliclazide
Glibenclamide
Chlorpropamide
กลุ่ม SGLT-2 inhibitors
ชื่อสามัญทางยา : Canagliflozin, Empagliflozin, Dapagliflozin
ผลข้างเคียง
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ น้ำหนักลด ของเหลวในกระแสเลือดลดลง (hypovolemia)
ไม่เกิดภาวะทําให้น้ำตาลในเลือดต่ำ
กลุ่ม Meglitinides
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์
กลูคากอน (glucagon)
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มการสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส
ลดการสังเคราะห์ไกลโคเจน
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน
ข้อบ่งใช้ : ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ขั้นวิกฤตจากภาวะต่างๆ เช่น insulin overdose
ข้อควรระวัง : ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคทางหัวใจและหลอดเลือด
โปรเจสเตอโรน
ชนิดของโปรเจสเตอโรน
19 nortestosterone
รุ่นที่2 เช่น norgestrel และ levonorgestrel
รุ่นที่3 เช่น desogestrel ,gestodene และ norgestimate
รุ่นที่ 1 เช่น norethisterone acetate
รุ่นที่4 (อนุพันธ์ของspironolactone) เช่น drospirenone
17 hydroxy progesterone เช่น cyproterone ออกฤทธิ์ต้านแอนโดรเจน
เภสัชจลนศาสตร์ : ถูกดูดซึมเร็วเมื่อเข้าสู่ร่างกายถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับ ขับออกทางปัสสาวะ
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยาและเภสัชวิทยา
ผลต่อเต้านม คือกระตุ้นการสร้างน้ำนม
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น 1องศาฟาเรนไฮร์
ฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
เปลี่ยนเยื่อบุโพรงมดลูกให้เหมาะกับการฝั่งตัวของไข่ที่ผสมแล้ว
ลดปริมาณของมูกปากมดลูก มูกมีลักษณะเหนี่ยวข้น
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาปวดประจำเดือน
ฮอร์โมนทดแทน
ยาคุมกำเนิด
อาการข้างเคียง : เลือดออกกระปริดกระปรอย อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม เจ็บคัดเต้านมน้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง
ยาเตรียมและขนาดที่ใช้ : มีแบบกินและฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ซึ่งฤทธิ์ความแรงของยาจะต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดและวิธีการ
แอนโดรเจน
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยาและเภสัชวิทยา
มีความต่างกันของแต่ละช่วงวัย
ในระยะตัวอ่อน: มีการพัฒนาระบบสืบพันธุ์
ในระยะวัยรุ่น :โตเป็นสาวโตเป็นหนุ่ม
ประโยชน์ทางคลินิก
ภาวะที่อัณฑะสร้างฮอร์โมนน้อยในรายที่อัณฑะไม่ทำงานหลังวัยแตกหนุ่มแล้ว
รักษาภาวะโลหิตจาง (กระตุ้นการสร้าง erythropoietin)
อาการข้างเคียง
เพศหญิงถ้าได้รับแอนโตรเจนขนาดสูง เช่น ขนดก สิว กดการมีประจำเดือน
เพศชายที่ขาดฮอร์โมนและได้รับแอนโดรเจน เช่น อาจเกิดต่อมลูกหมากโตทำให้ปัสสาวะไม่ออก คลื่นไส้ เเละเป็นหมัน
Estrogens
ธรรมชาติ : รังไข่ เนื้อเยื่อไขมัน ต่อมหมวกไต และestradiol
การสังเคราะห์ : ethinyl estradiol
Estrogensที่ไม่ใช่สเตรอยด์ที่มีการสังเคราะห์ : diethylstilbestrol
กลไกการออกฤทธิ์
ซึมผ่านพลาสมาเมมเบรน
จับกับตัวรับซึ่งจะจำเพาะต่อฮอร์โมนนั้น ๆ ในไซโตพลาสมาsteroid-receptor complex
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและซึมเข้าสู่นิวเคลียสจับกับตำแหน่งจำเพาะบนโครมาติน
กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNAและโปรตีน
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยา
1.ฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ควบคุมการเจริญเติบโต
เร่งการปิดของ epiphysis ของ long bone
เปลี่ยนแปลงการกระจายไขมัน ทำให้มีลักษณะและรูปร่างของผู้หญิง ขนขึ้นตามส่วนต่างๆของร่างกาย
การควบคุมการเกิดประจำเดือน
3.ฤทธิ์ต่อเมแทบอลิซึม
ผลต่อกระดูกเอสโตรเจนที่ผลยับยั้งการสลายกระดูก
ผลต่อเมแทบอลิซึมของไขมันจะเพิ่มระดับHDL และลดระดับ LDL
ผลต่อการแข็งตัวของเลือด มีฤทธิ์เพิ่มระดับโปรธรอมบินและ clottingfactor II VII IX และ X มีผลทำให้เลือดแข็งตัวง่ายขึ้น
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
การดูดซึม ดีผ่านผิวหนัง เยื่อเมือก ทางเดินอาหาร
เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตับให้เมแทบอไลท์
บางส่วนขับทางน้ำดีและเกิด enterohepatic circulation
ประโยชน์ทางคลินิก
ทดแทนฮอร์โมนในหญิงหมดประจำเดือน
ปวดประจำเดือน ให้เป็นรอบๆใช้ร่วมกับโปรเจสตินและนิยมใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์มากกว่า
ยาคุมกำเนิดโดยใช้ร่วมกับโปรเจสติน
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ
เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดอุดตัน ปวดศีรษะ โรคลมชัก และเป็นสารก่อมะเร็ง
ข้อห้ามใช้
ผู้ที่มีประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือด ตับ ไต ไมเกรน ลมชัก ซึมเศร้า
ผู้หญิงระหว่างตั้งครรภ์และผู้หญิงที่ให้นมบุตร
ผู้ที่เป็น estrogen dependent neoplasms เช่น เนื้องอกของเยี่อบุโพรงมดลูก มะเร็งเต้านม
Selective Estrogen Receptor Modulators
SERM รุ่นที่1
Tamoxifen
antagonist ที่เต้านม agonist ที่กระดูกและเยื่อบุโพรงมดลูก
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต้านเอสโตรเจนที่เนื้อเยื่อและมีฤทธิ์เป็นทั้งagonists และantagonists ของเอสโตรเจน
SERM รุ่นที่2
Raloxifene
agonist ที่กระดูกโดยไม่มีผลต่อเยื่อบุโพรงมดลูก
ตัวอย่างยา antiestrogen
Clomiphene: หญิงมีบุตรยาก(กระตุ้นการตกไข่)
Fulvestrant: มะเร็งเต้านม
ยาเตรียม :ยาฮอร์โมนเอสโตรเจนมีหลายรูปแบบ ได้แก่ กิน ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ การให้ทางผิวหนัง และการใช้เฉพาะที่
ยาเม็ดคุมกำเนิด (Oral contraceptives)
เอสโตรเจน: ethinyl estradiol (EE)
โปรเจสเตอโรน: norethisterone
ชนิดของยา
ชนิดฮอร์โมนรวม (combinedoral contraceptives)
ฮอร์โมนในขนาดคงที่ : สูง/ต่ำ EEไม่เกิน 50
ฮอร์โมนในขนาดคงที่แตกต่างกัน
Biphasic pills
Triphasic pills
มีโปรเจสเตอโรนอย่างเดียว
ยาคุมฉุกเฉิน : Levonorgestrel 0.75 มก. หลังร่วมเพศไม่เกิน 72 ชม, 12 ชม 1 เม็ด
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง FSH ทำให้ไข่ไม่เจริญเติบโต
ยับยั้ง LH ทำให้ไม่มี LH surge และไม่มีการตกไข่
ผลต่อเยื่อเมือกปากมดลูก P ทำให้เมือกมีปริมาณน้อยและเหนี่ยวข้น
เยื่อบุโพรงมดลูกบางไม่เหมาะกับการฝังตัว
ผลต่อท่อนำไข่ E ทำให้ท่อนำไข่บีบตัวมากขึ้น
อาการข้างเคียงจากestrogen
และ progestin
ภาวะ progestin เกิน : น้ำหนักขึ้น เป็นสิว
ภาวะ estrogen เกิน : เป็นฝ้า บวมน้ำ
Progestin-Only Contraceptives
ยาฝังใต้ผิวหนัง : norgestrel ( up to 5 years)
ยารับประทาน : lynestrenol, desogestrel
ห่วงอนามัย
PROGESTASERT: Progesterone
MIRENA: levonorgestrel
ยาฉีดเข้ากล้าเนื้อ : medroxy progesterone acetate
(MPA ) 3 months
ข้อห้ามใช้
Absolute
Relative
วิธีใช้ยา
เวลาที่รับประทานยาหลังอาหารเย็นหรือก่อนนอน แต่ควรเป็นเวลาเดียวกันทุกวัน
ชนิด 21 เม็ดจะทานจนหมดแล้วหยุดรอให้ประจำเดือนมา
เริ่มรับประทานยาคุมกำเนิดเม็ดแรกในวันที่ 1-5 ของรอบเดือน (ชนิด 21 เม็ด)
ประโยชน์และข้อบ่งใช้อื่นของยา
ใช้ยาเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์
รักษาอาการปวดประจำเดือน
ใช้เลื่อนประจำเดือน
ความเสี่ยงต่อมะเร็ง
ลดความเสี่ยงต่อมะเร็งรังไข่
เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมบางชนิด
ลดความเสี่ยงต่อมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง