Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tetralogy of Fallot (TOF) with Hypoxic spell - Coggle Diagram
Tetralogy of Fallot (TOF) with Hypoxic spell
ความหมาย
โรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียวที่เลือดไปปอดน้อยหมายถึงโรคหัวใจชนิดที่เลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้าย (Right to left shunt) ที่เป็นความผิดปกติในโครงสร้างของระบบหลอดเลือดและ / หรือหัวใจที่เป็นมา แต่กำเนิดทำให้เลือดดำในหัวใจซีกขวาไหลไปปนกับเลือดแดงจากหัวใจชีกซ้ายทำให้เลือดไปปอดน้อยและเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายมีความเข้มข้นของออกซิเจนในลดลงกว่าระดับปกติเด็กจึงมีอาการเขียวได้ แต่ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายอาจลดลงหรือปกติก็ได้
สาเหตุ
มีความผิดปกติของพันธุกรรม
มารดา
การได้รับยาบางชนิด
การใช้สารเสพติด
การติดเชื้อ
การได้รับรังสี
การตั้งครรภ์เมื่อมีอายุมาก
ครอบครัวมีประวัติโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
เขียวตามริมฝีปากเล็บ (Central and peripheral cyanosis)
ผิวสีคล้ำนิ้วมือนิ้วเท้าปุ่ม (Clubbing fingers) กรณีที่มีการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
. เหนื่อยง่าย
เติบโตช้า (Failure to thrive) เนื่องจากมีเหนื่อยง่ายทำให้กินน้อยกว่าปกติด้วย
ภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน
จะมีอาการเขียว (Cyanosis) มากขึ้นเป็นพัก ๆ
กระสับกระส่ายหายใจแรงและเร็วกว่าปกติ
เป็นลมหมดสติและชักได้
ฝีในสมองโรคหัวใจ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายเบื้องต้นเช่น การฟังเสียงหัวใจ
พิจารณาการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
การตรวจคลื่นหัวใจ
เอกซเรย์หัวใจ
คลื่นเสียงความถี่สูงหัวใจและการสวนหัวใจ
การรักษา
ในรายที่มี Hypoxic spell จัดให้เด็กอยู่ในท่าเข่าชิดอก (Knee chest position)
ให้ยากลุ่ม Beta adrenergic blocker (Inderal, Propranolol) เพื่อป้องกันการอุดกั้นของการไหลเวียนของหลอดเลือดจากหัวใจไปปอด
การรักษาโดยการผ่าตัด
ผ่าตัดชั่วคราว (Palliative Shunt)
บรรเทาอาการในเด็กเล็กที่มีอาการมาก แต่ไม่สามารถผ่าตัดได้
ผ่าตัดให้หายขาด (Complete repair)
อายุมากกว่า 1 ปีโดยปิดรูรัว PDA และขยายหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
พยาธิสภาพ
ประกอบด้วยความผิดปกติ 4 อย่าง
รูรั่วที่ผนังหัวใจห้องล่าง (Ventricular septal defect)
หลอดเลือดพัลโมนารี่ตีบ (Pulmonary stenosis)
. หลอดเลือดแดงใหญ่เอียงไปทางขวา (Overriding aorta)
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนา (Right ventricular hypertrophy) เนื่องจากหลอดเลือดพัลโมนารตีบทำให้มีเลือดดำไปฟอกที่ปอดได้น้อยความดันในเวนติเคิลขวาจึงสูงขึ้นร่วมกับมีรูรั่วที่ผนังหัวใจห้องล่างทำให้เลือดดำจากหัวใจซีกขวาไหลไปปนกับเลือดแดงในหัวใจซีกซ้ายเวนติเคิลช้ายจึงบีบตัวเอาเลือดผสมไปเลี้ยงร่างกายที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนในน้อยกว่าปกติเด็กจึงมีอาการเขียวได้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนาเกิดจากความดันในเวนติเคิลขวาจึงสูงเรื้อรังจากหลอดเลือดพัลโมนารี่ตีบ
อุบัติการณ์
การคัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลสามพราน จังหวัดนครปฐม จริยา ยงค์ประดิษฐ์ 2016 ผลการศึกษา: คัดกรองทารกแรกเกิดทั้งหมด 2,008 ราย พบเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด 2 ราย