Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตเภท (Schizophrenia) - Coggle Diagram
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
การักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ขั้นตอนการเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการรักษาด้วยไฟฟ้า
การเตรียมตัวก่อนทำการรักษาล่วงหน้า 1 วัน
งดน้ำ งดอาหารหลังเที่ยงคืนจนเสร็จสิ้นกระบวนการรักษา
นอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
ทำความสะอาดร่างกาย
ในขณะเข้ารับการรักษาด้วยไฟฟ้าให้สวมเสื้อผ้าสะอาด ผมแห้ง
หากมีภาวะความดัน โลหิตสูง จิตแพทย์จะพิจารณาให้ยาลดความดันในเวลา 06.00 น. และดื่มน้ำได้ไม่เกิน 30-60 ซีซี
ถอดฟันปลอม หากมีปัญหาฟันผุ ฟันโยกต้องแจ้งพยาบาลก่อนเสมอ
ปัสสาวะก่อนทำการรักษา
ข้อบ่งชี้การรักษาด้วยไฟฟ้า
ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
ผู้ป่วยที่ต้องการผลรักษาที่รวดเร็ว เช่น ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง /มีภาวะซึมเศร้ารุนแรงและมีความคิดหรือพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
การบำบัด
การบำบัดรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu Therapy)
การรักษาผู้ป่วยโดยใช้สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ผู้ป่วย
บุคลากรทางจิตเวช
นักอาชีวบำบัด
จิตแพทย์
นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์
หอผู้ป่วย
การจัดสิ่งแวดล้อม
เงียบสงบร่มรื่น
คล้ายบ้าน
จัดตกแต่งอาคารเป็นสัดส่วน
บทบาทของพยาบาล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมตามตารางกิจกรรม
ให้การดูแลผู้ป่วยอย่างทั่วถึงและยุติธรรม
ดูแลให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
ประชุมทีมงานเพื่อแก้ไขปัญหาและหาแนวทางช่วยเหลือผู้ป่วย
นำกระบวนการพยาบาลมาโช้ในการปฏิบัติการพยาบาลและประเมินผล
ในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ป่วยและแบบแบบอย่างที่ดี
ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานกับบุคลากรในทีม
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยพึ่งพาดนเอง มีความรับผิดขอบ และมีส่วนร่วมตัดสินใจในการกระทำต่างๆ
ยอมรับในความเป็นบุคคลและเคารพ
มีทัศนคติที่ดีและปฏิบัติตัวต่อผู้ป่วยด้วยท่าทีอบอุ่น นุ่มนวล พูดจาสุภาพช่วยเหลือผู้ป่วยด้วยความจริงใจและสม่ำเสมอ
การดูแลโดยครอบครัว
(family caregiving)
บทบาทของญาติในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ไม่แสดงความห่วงใย หรือคาดหวังผู้ป่วยจนเกินไป
ต้องพึ่งพาผู้อื่น
มีพฤติกรรมถอยเป็นเด็ก
ผู้ป่วยกลายเป็นคนขาดความเชื่อมั่น
รับฟังความคิดเห็น
พยายามหลีกเลี่ยงการแสดงอารมณ์ต่อผู้ป่วย
ไม่พูดข่มขู่ผู้ป่วยว่าจะจับไปขังหรือปล่อยทิ้งไว้ที่โรงพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่อง
การดูแลหรือช่วยเหลือสมาชิกที่เจ็บป่วยโดยไม่มีค่าตอบแทนจากสมาชิกครอบครัวคนอื่น หรือเพื่อนที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน
การรักษาด้วยยา
ผลกระทบจากการไม่ได้รับการรักษา
คนรอบข้าง
เกิดความเครียดสูง และวิตกกังวล
ผู้อื่นหวาดกลัว
เสี่ยงที่จะโดนทำร้าย
ต่อตนเอง
ถูกล้อเลียนจากคนในสังคม
ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมส่วนใหญ่
ไม่ยอมรับการรักษา
ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่ยอมรับการรักษา
ผลข้างเคียงของยา
มีอาการผิดปกติที่ไม่พึงประสงค์จากยา
ความเข้าใจเรื่องโรคและกระบวนการรักษา
เข้าใจว่าโรคนี้รักษาได้โดยไม่จำเป็นต้องกินยา
ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการกินยาอย่างต่อเนื่อง
ไม่ยอมรับการเจ็บป่วยของตนเอง
ความเข้าใจเรื่องโรคและกระบวนการรักษาไม่ถูกต้อง
คิดว่าอาการหายดีแล้วไม่ต้องกินยาต่อเนื่อง
การดูแลผู้ป่วยของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย
ญาติรู้สึกเป็นภาระมีความเครียดสูง
มีความเชื่อและเจตคติที่ไม่ดีต่อการกินยา
ไม่มีเความเอาใจใส่
ศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขในชุมชน
เจ้าหน้าที่ในชุมชนมีศักยภาพไม่เพียงพอ
การดูแลต่อเนื่องในชุมชน
ผู้ป่วยและญาติไม่ต้องการ การดูแลจากเจ้าหน้าทีในชุมชน
ขาดการประสานข้อมูลการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง
รู้สึกไม่คุ้นเคย ไม่มั่นใจ
ผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่
การให้บริการผู้ป่วยในโรงพยาบาล
การเตรียมความพร้อมญาติก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลไม่เพียงพอ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโดยตรงไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่าย
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs.
ผลข้างเคียง
ชาตามแขนและขา
เจ็บหน้าอก
หัวใจเต้นผิดปกติ เต้นเร็วหรือเต้นช้าลง
มีความรู้สึกสับสน ความรู้สึกตัวลดลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
กล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า คอ และหลังชักกระตุก
กลุ่ม Phenothiazine
ใช้รักษาความผิดปกติของจิตใจ
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs. prn
ผลข้างเคียง
ชีพจรเต้นเร็ว
ระคายเคืองทางเดินอาหาร
ใจสั่น
สับสน มึนงง
เสียความจำข้างหน้า
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่ประสานกัน
ง่วงซึม
กลุ่ม Benzodiazepine
ขัดขวางการทำงานของสารเคมีที่เป็น
สารสื่อประสาทที่เรียกว่า GABA
พยาบาลเพื่อส่งเสริม
ให้ผู้ป่วยรับประทานยา
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุยและระบายความรู้สึก
เยี่ยมสม่ำเสมอ และให้กล่าวชื่นชม
สร้างสัมพันธภาพ
ให้ผู้ป่วยไว้วางใจ
ให้การเสริมแรงทางบวก
จัดให้ผู้ป่วยสนทนาเกี่ยวกับ
ความเข้าใจเรื่องโรคและการรักษา
ตระหนักถึงผลเสียมากขึ้น
สังเกตผลของการรับประทานยา
อาการด้านบวก
ความรู้ที่บุคคลรอบข้างควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย
ทําความเข้าใจความรู้สึก
ทำความเข้าใจอารมณ์ละความรู้สึกของผู้ป่วย
ไม่ควรมองว่าภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยไร้เหตุผล
แนะนำสายด่วนหากผู้ป่วยไม่พูดคุยเปิดใจผู้ใกล้ชิดอาจ
ช่วยเหลือเต็มที่
หากผู้ป่วยไม่ต้องการไปหาหมอก็ไม่ควรฝืนบังคับ
บุคคลรอบข้าง เพื่อน ครอบครัว บุคคลใกล้ชิด สังเกตอาการ พูดคุยแบบเปิดใจ วิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับรู้มุมมองที่แตกต่างออกไปและช่วยลดความเครียดได้
เคารพการตัดสินใจ
ไม่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยควรให้ผู้ป่วยได้คิดและตัดสินใจเอง
อาการหวาดระแวง (Paranoid)
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตเวชเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตอิสระได้
กระตุ้นและส่งเสริมพลังอำนาจ การมีส่วนร่วมของผู้ป่วยโรคจิตเภท ครอบครัวและชุมชน
คำนึงแหล่งสนับสนุนหรือการประคับประคองทุกรูปแบบที่มีความยืดหยุ่นและเหมาะสมกับผู้ป่วยโรคจิตเภท
การสร้างความจริงใจ สัมพันธภาพ และความเห็นอกเห็นใจ
Reflecting
Giving General lead
Using Broad Opening Statement
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคมมีความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทแต่ละราย
การค้นหาและเสริมศักยภาพที่เป็นกลไกแก้ไขปัญหาที่เป็นธรรมชาติของผู้ป่วยโรคจิตเภท
มุ่งเน้นการให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของโรคโดยเฉพาะสาเหตุความผิดปกติของการทำงานของสมอง
การให้ความสำคัญกับครอบครัวในการเข้าร่วมกระบวนการรักษา
สามารถประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคจิตเภทชนิดต่างๆ
การบำบัดมุ่งเน้นการปรับตัวต่อความเจ็บป่วย และการสามารถทำหน้าที่/มีคุณค่าในการดำรงชีวิตประจำวัน
ประเมินอาการหวาดระแวงจากการทำร้ายตัวเองและบุคคลรอบข้าง
ลักษณะของความหวาดระแวง
มีอารมณ์ก้าวร้าว ผลุนผลันและรุนแรง
ปฏิเสธการมีสัมพันธ์กับผู้อื่น มองผู้อื่นในแง่ร้าย
8.มักมีอาหารประสาทหลอนทางหู (Auditory hallucination) ร่วมด้วย
มีความคิดสงสัย ไม่แน่ใจ คอยสังเกตพฤติกรรมและการกระทำของคนอื่น
ใช้กลไกทางจิตแบบ Denial และ Projection
ไม่ยืดหยุ่น ไม่สนใจต่อเหตุผลของผู้อื่น
ไวต่อการกระตุ้นและระมัดระวังตัวมาก
มักมีความคิดหลงผิดว่าตนเองเป็นผู้ใหญ่ (Grandeur idea delusion) ร่วมด้วย
สามารถให้การพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยลดความหวาดระแวงลง
2.สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว (One to one relationship) โดยเน้นการสร้างความวางใจและความเชื่อถือ
การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผย จริงใจ รักษาคำพูด ให้ข้อมูลอย่างชัดเจนตรงไปตรงมาหลีกเลี่ยงการมองเห็นจ้อง หรือระมัดระวังการกระซิบกระซาบต่อหน้าผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าพยาบาลนินทาให้ร้ายหรือระแวง
ผู้ป่วยหวาดระแวงจะมีความเคลือบแคลงสงสัย พยาบาลต้องคอยสังเกตและระมัดระวังการก่อความวุ่นวาย การทำร้ายผู้อื่นและถ้าผู้ป่วยสามารถข้าร่วมกิจกรรมได้ ควรชมเชยเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ และภาคภูมิใจในตัวเอง
ผู้ป่วยหวาดระแวง มักจะมีความโกรธ ก้าวร้าวควบคู่ไปด้วยเสมอ ควรใช้วิธี โอนอ่อนผ่อนปรนอดทนในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก และให้ผู้ป่ายทำกิจกรรมที่ระบายความก้าวร้าว
ให้ผู้ป่วยมีกิจกรรม ลดเวลาที่ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ซึ่งอาจทำให้มีความคิดหมกมุ่นอยู่ในเรื่องเดิม ๆ
3.ผู้ป่วยที่มีความหวาดระแวงในบางสิ่ง การให้ความจริงกับผู้ป่วยจะกระทำได้ต้องแน่ใจว่าผู้ป่วยรับได้ การให้เหตุผลเพียงอย่างเดียว ผู้ป่วยอาจไม่เชื่อถือ พยาบาลอาจจะต้องแสดงพฤติกรรมให้ผู้ป่วยแน่ใจด้วย
1.ยอมรับในพฤติกรรมหวาดระแวง ไม่โต้แย้ง ต่อต้าน และประเมินระดับความรุนแรงของอาการ
การจำแนกความหวาดระแวง
บุคลิกภาพผิดปกติชนิดหวาดระแวง
หลงผิดและประสาทหลอน
บุคลิกภาพที่ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
สัมพันธภาพกับผู้อื่นไม่ดี
ไม่มีเพื่อนสนิท
โรคจิตเภทชนิดหวานระแวง (Schizophrenia : paranoid)
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
แบ่งได้ตามลักษณะของความคิด
Erotomanic type
Grandiose type
Persecutory type,
Jealous type
Somatic type
กลุ่มอาการหลงผิดที่มีสาเหตุทางกาย
ความหมาย
ภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทำให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่างไม่มีเหตุผล ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่ามีคนจ้องทำร้ายอยู่ตลอดเวลา
การพูดแบบไม่มีระเบียบแบบแผน (disorganized speech)
พูดไม่ต่อเนื่อง เช่น พูดรัวเร็ว พูดแล้วหยุดชะงัก พูดอ้อมค้อม
การปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมการสื่อสาร
2.พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพแบบ one to one เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย และไว้วางใจ จัดเวลาเข้าไปพบและพูดคุยกับผู้ป่วยสม่ำเสมอ ถึงแม้จะไม่เข้าใจในสิ่งที่ผู้ป่วยพูด เพราะจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมรับและยังเป็นที่ต้องการของผู้อื่น พยาบาลควรสื่อสารกับผู้ป่วยอย่างชัดเจน เช่นสื่อสารกับผู้ป่วยด้วยประโยคสั้นๆเข้าใจง่าย
1.พยาบาลควรประเมินลักษณะการสื่อสารของผู้ป่วยว่ามีความบกพร่องอย่างไร เช่น พูดหลายเรื่องผสมกันจนคนฟังไม่เข้าใจ
6.พยาบาลต้องตระหนักว่า พฤติกรรมแยกตัว ชอบอยู่คนเดียว ไม่ชอบคุยกับคนอื่นนี้เป็นปัญหาด้านความสามารถทางด้านสังคมที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ดังนั้นพยาบาลต้องอดทนให้เวลาผู้ป่วยในการปรับปรุง
5.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เป็นตัวของตัวเอง โดยกระตุ้นให้ ผู้ป่วยทำกิจกรรมกับสมาชิกอื่นที่ผู้ป่วยพอใจ และพยาบาลควรให้กำลังใจหรือแรงเสริมเมื่อเห็นผู้ป่วยในกิจกรรม
3.พยาบาลต้องนำเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัดมาใช้ เช่น ในกรณีที่พูดหลายเรื่องพยาบาลควรให้ผู้ป่วยหยุดพูดเป็นครั้งคราว และกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้อธิบายสิ่งที่เขาพูดไปกรณีผู้ป่วยไม่พูดหรือไม่โต้ตอบ พยาบาลควรใช้การตีความหรือการคาดเดาจากภาษาท่าทางของผู้ป่วย และกระตุ้นุ้ป่วยโดยการวิเคราะห์ความรู้สึกของผู้ป่วย
4.เมื่อสัมพันธภาพดำเนินมาสักระยะ พยาบาลควรชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งกิจกรรมระยะแรกควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ ไม่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว มีสมาชิกลุ่มไม่มากเกินไป กระตุ้นให้ผู้ป่วยสื่อสารมากขึ้น และพยาบาลควรร่วมกิจกรรมกลุ่มพร้อมผู้ป่วย เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นสบายใจเมื่อเห็นคนที่คุ้นเคย
กิจกรรมการพยาบาลผู้ที่มีปัญหาเรื่องการสร้างสัมพันธ์ภาพ
6.ส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วย การร่วมมือในการรักษาด้วยยาและพัฒนาการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วย
ให้ข้อมูลในแหล่งที่สามารถช่วยเหลือได้ในกรณีฉุกเฉิน แก่ผู้ดูแล
เสริมสร้างพลังอำนาจ และสอนทักษะการจัดการกับความเครียดแก่ผู้ดูแล
ให้ความรู้ กับผู้ป่วยและญาติ ถึงพยาธิสภาพของโรค แผนการรักษาพยาบาล และการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย
สอนให้ผู้ป่วยและญาติสังเกตอาการเตือนก่อนอาการทางจิตกำเริบ เช่น เริ่มหงุดหงิดง่าย ไม่นอน/นอนไม่หลับ อาจเริ่มมีอาการประสาทหลอน รวมถึงมีพฤติกรรมไม่ร่วมมือ เช่น ทิ้งยา/ ไม่กินยา พูดห้วน ตาขวาง การดื่มสุรา
2.ยอมรับผู้ป่วยโดยการเรียกชื่อให้ถูกต้อง รับฟังเรื่องราวอย่างสนใจเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ ไม่หัวเราะในพฤติกรรมผู้ป่วย
3.การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผยรักษาคำพูดให้ข้อมูลอย่างชัดเจนตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการจ้องมอง
4.แสดงการยอมรับอาการประสาทหลอน หรือหวาดระแวงของผู้ป่วยโดยไม่โต้แย้งหรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าไม่เป็นความจริง แต่แสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งได้โดยใช้เทคนิคการให้ความจริง (presenting reality) ในขณะการสนทนา เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจว่าความคิดที่เกิดขึ้นนั้นมาจากการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นและหวาดระแวงน้อยลง
สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว (one to one relationship) โดยเน้นการสร้างความไว้วางใจและความเชื่อถือ ทุกครั้งที่พบกับผู้ป่วย
5.ไม่แสดงกิริยาที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสงสัยหรือไม่มั่นใจ ระมัดระวังการกระซิบต่อหน้าผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าพยาบาลนินทา หรือระแวง
การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคจิตเภท
ด้านการสื่อสาร
โดยพูดกับผู้ป่วยอย่างไพเราะ ไม่ตำหนิไม่ขู่
เอาใจใส่ซึ่งกันและกัน เอื้ออาทร
นอนหลับมั้ย/ เครียดมั้ย/ อยู่ว่างๆ เบื่อมั้ย/ลูกตื่นได้แล้ว สายแล้ว
ฝึกการสื่อสารเพื่อรับยา
เตือนผู้ป่วยให้กินยาโดยใช้คำพูดว่า กินยาหรือยังลูก
การตอบสนองต่อท่าทางของผู้ป่วยอย่างเหมาะสม
เวลาลูกไม่อาบน้ำ บอกว่าใครมาบ้านจะเหม็นสาบ
ถ้าลูกฮึดฮัด โต้เถียง แม่บอกว่า ขอโทษ
ขอสัญญาว่าต่อไปจะปฏิบัติตัวอย่างไรแทนการตำหนิผู้ป่วย
ให้ขอความช่วยเหลือ โดยการเสนอตัวให้ความช่วยเหลือสม่ำเสมอ
จะเอาอะไรให้บอก สอบถามให้ผู้ป่วยพูดปัญหา
คนป่วยทำผิดอย่าตำหนินิ่งเสีย หายโมโหค่อยบอก
พูดในลักษณะที่หัวข้อวลีหรือประโยคที่กล่าวออกมาไม่สัมพันธ์กัน
การออกเสียง เช่น พูดตะกุกตะกัก พูดติดอ่าง พูดไม่ชัด
อาการหลงผิด (delusion
)
ประเมินพฤติกรรมการทำร้ายตนเองและบุคคลรอบข้าง
ใช้แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง OAS
grandiose delusion
เป็นความหลงผิดคิดว่าตนเองมีความสำคัญ
การพยาบาล
ยอมรับผู้ป่วยโดยการเรียกชื่อให้ถูกต้อง รับฟังเรื่องราวอย่างสนใจเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ
ประเมินอาการหวาดระแวงทุกครั้งที่มารับบริการ
ส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วย
การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผยรักษาคำพูดให้ข้อมูลอย่างชัดเจน
แสดงการยอมรับอาการ โดยไม่โต้แย้งหรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าไม่เป็นความจริง
ไม่แสดงกิริยาที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสงสัยหรือไม่มั่นใจ
สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
bizarre delusion
เป็นความหลงผิดที่แปลกประหลาด เช่น เชื่อว่าตนสามารถติดต่อกับมนุษย์ต่างดาวได้
jealous delusion
เป็นความหลงผิดว่าคู่ครองนอกใจ
erotomanic delusion
เป็นความหลงผิดว่ามีคนมาหลงรักตนและมักเป็นคนที่มีสถานภาพสูงกว่า
ความผิดปกติของพฤติกรรม (behavioral disorganization)
ต่อคนรอบข้าง
การพยาบาล
กรณีที่ผู้ป่วยมีอาการสับสน มึนงงมาก สามารถผูกมัดได้
ลงบันทึกการสังเกต/การเยี่ยมผู้ป่วย
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
แบบประเมิน SAFE-D
พยาบาล/ผู้ช่วยเหลือคนไข้ ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ผู้ป่วยสวมเสื้อ SAFE และติดป้ายชื่อที่มีสัญลักษณ์สีแดงในช่อง A
การพยาบาล
แนะนำผู้ป่วยให้ค่อยๆ เปลี่ยนท่าเพราะอาจเกิดหน้ามืด
กรณีที่ได้ยาฉีด
แนะนำให้ผู้ป่วยพัก ประมาณ 30-60 นาทีหรือ
จนกว่าจะประเมินได้ว่าเดินได้โดยปลอดภัย
รายงานแพทย์ ถ้ามีฤทธิ์ข้างเคียงจากยามาก
ดูแลใกล้ชิด ให้ผู้ป่วยอยู่ในสายตาตลอด
หากมีปัญหาในการทรงตัว จัดหาอุปกรณ์ช่วยเดิน มีเจ้าหน้าที่ช่วยประคอง
กรณีที่รักษาด้วยไฟฟ้า
ช่วยทำกิจวัตรทั้งหมด จนกว่าประเมินแล้วไม่มีความเสี่ยง
หลังทำจะมีอาการสับสน
ดูแลให้ได้รับยาทางจิตเวช
มีปัญหาการได้ยิน ญาตินำเครื่องช่วยฟังมาให้
ติดสัญญาณเรียกไว้ที่เตียง
จัดสิ่งแวดล้อม เพื่อความปลอดภัย
ช่วยดูแลกิจวัตร งดการอาบน้ำตามลำพัง
เป็นพฤติกรรมที่ผิดแปลกไปจากปกติ
ร้องตะโกนโดยที่ไม่มีสิ่งใดมากระตุ้น
ไม่ใส่ใจตนเอง มีการแต่งกายที่ไม่เหมาะสม สกปรก
จะมีพฤติกรรมวุ่นวาย พลุ่กพล่าน กระวนกระวาย
ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งของการเคลื่อนไหวที่กำลังกระทำอยู่โดยที่การกระทำนั้นยังไม่สิ้นสุด
การเคลื่อนไหวที่มากเกินไปหรือน้อยเกินไป
อาการประสาทหลอน (hallucination)
การพยาบาล
เข้าใจและยอมรับในอาการของผู้ป่วย ไม่ตำหนิ หรือพูดเชิงขบขันว่าเป็นอาการที่ไม่น่าเป็นไปได้
สร้างสัมพันธภาพให้ ผู้ป่วยรู้สึกไวว้างใจปลอดภัย โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ผู้ป่วยมีอาการควรใช้เทคนิคการสนทนาที่จำเป็น
พยาบาลควรสอบถาม Content ของประสาทหลอนเพื่อประเมินอาการของผู้ป่วยและผลกระทบที่เกิดขึ้น
การส่งเสริมผู้ป่วยให้มีการรับรู้ตามความเป็นจริง
แสดงการยอมรับอาการที่ผู้ป่วยเป็น โดยการรับฟังและไม่ โต้แย้ง
เรียกชื่อผู้ป่วยให้ชัดเจนใช้น้ำเสียงที่นุ่มนวล และกระตุ้นให้ ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
หลีกเลี่ยงการเข้าไปจับต้องผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยจะมีแนวโน้ม ตีความหรือการรับรู้ผิด
หากพบอาการกำลังแสดงประสาทหลอน ควรบอกสิ่งที่เป็น จริงกับผู้ป่วยขณะนั้น
ประเมินอาการประสาทหลอนที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยว่าเกี่ยวข้องกับระบบรับสัมผัสใด
2.visual hallucination มีภาพหลอนโดยอาจเห็นเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรืออย่างอื่น
การรักษา
การใช้ยารักษา
การรักษาอาการประสาทหลอนขึ้นอยู่กับสาเหตุทั้งหมดของผู้ป่วย เช่น หากผู้ป่วยมีอาการประสาทหลอนจากการดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก แพทย์จะให้ยาที่ลดอาการประสาทหลอนลง
การรับคำปรึกษาจากจิตแพทย์
วิธีนี้จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่มีอาการประสาทหลอนมาจากสภาวะทางจิตใจการได้พูดคุยกับจิตแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ สามารถช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจสิ่งที่ตนเองกำลังเผชิญได้ดี ผู้เชี่ยวชาญสามารถช่วยผู้ป่วยพัฒนากลยุทธ์การรับมือกับอาการประสาทหลอนได้
1.auditory hallucination มีหูแว่วได้ยินเสียงจากภายนอกอาจเป็นเสียงรูปแบบต่างๆหรือเสียงคนคุยกัน
5.tactile hallucination มีความรู้สึกเหมือนมีอะไรมาไต่ตามตัว หรือรู้สึกแปลกๆตามผิวหนัง
3.olfactory hallucination ได้กลิ่นแปลกๆ เช่น กลิ่นไหม้
4.gustatory hallucination รู้สึกว่าลิ้นได้รับรสแปลกๆ เช่น รสโลหะ
การวินิจฉัยโรคจิภเภทตามหลัก DSM V
E.ต้องแยกอาการโรคจิตที่เกิดจากโรคทางกายและสารเสพติดออก
A.มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือนต้องมีอาการในข้อ 1-3 อยู่ 1 อาการ
2.อาการประสาทหลอน ( hallucination)
5.อาการด้านลบ (Negative symptoms) ได้แก่ ความคิดอ่านและการพูดลดลง ไม่พูดหรือพูดน้อย (alogia),
บกพร่องทางเชาวน์ความคิด (Cognitive deficit),อารมณ์ทื่อ (blunted affect) และเฉยเมย ไม่ยินดียินร้าย (anehedonia)
4.พฤติกรรมไม่มีระเบียบแบบแผนและเคลื่อนไหวผิดแปลกไปจากปกติ (grossly disorganized or catatonic behavior)
3.การพูดแบบไม่มีระเบียบแบบแผน (disorganized speech)
1.อาการหลงผิด (delusion) มีความเชื่อที่ผิดๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ไม่เป็นความจริงไม่สามารถเปลี่ยนความคิดของผู้ป่วยได้
C.มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป
โดยต้องมี active phase (ตามข้อA) อย่างน้อยนาน 1 เดือน และที่เหลืออาจเป็น prodromal หรือ residual phase อาการที่พบอาจเป็นอาการด้านลบหรืออาการตามข้อ A ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไปแต่แสดงออกเล็กน้อย
F.ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่วัยเด็กจะวินิจฉัยโรคจิตเภทก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิด หรืออาการประสาทหลอนที่เด่นชัดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือนร่วมด้วย
B.มีความเสื่อมหรือปัญหาในด้านการเข้าสังคมหรือการประกอบอาชีพ
D.ต้องแยกโรคจิตอารมณ์ โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว
อาการด้านลบ
อาการพฤติกรรมแยกตัวออกจากสังคม
ฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตเวช
การให้ความสำคัญกับครอบครัวในการเข้าร่วมกระบวนการรักษา
การค้นหาและเสริมศักยภาพที่เป็นกลไกแก้ไขปัญหาที่เป็นธรรมชาติของผู้ป่วยโรคจิตเภท
การบำบัดมุ่งเน้นการปรับตัวต่อความเจ็บป่วย และการสามารถทำหน้าที่/มีคุณค่าในการดำรงชีวิตประจำวัน
คำนึงแหล่งสนับสนุนหรือการประคับประคองทุกรูปแบบที่มีความยืดหยุ่นและเหมาะสมกับผู้ป่วยโรคจิตเภท
การสร้างความจริงใจ สัมพันธภาพ และความเห็นอกเห็นใจ
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของโรคโดยเฉพาะสาเหตุความผิดปกติของการทำงานของสมอง
ขาดความสามารถในการปรับตัวเข้าหาผู้อื่น
การพบาบาล
ประเมินสภาพอารมณ์และสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งสังเกตสัญญาณเตือนของการเกิดพฤติกรรมที่ผิดปกติ
ลดระดับสิ่งเร้าไม่ให้อึกทึกคึกโครม ไม่กระตุ้นผู้ป่วย
นำสิ่งต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือผู้ป่วยอาจใช้เป็นอาวุธได้ไปไว้ไกลๆผู้ป่วย
ให้แรงเสริมทางบวก ให้กำลังใจ ชมเชย เมื่อผู้ป่วยสามารถควบคุมพฤติกรรมและแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ไม่สามารถควบคุมพลังผลักดันของความต้องการพื้นฐานเป็นพฤติกรรมที่ขาดเหตุผล ไม่เหมาะสมกับวัย ตามใจตนเองเหมือนเด็ก
อารมณ์ไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงง่าย มีอาการไม่เหมาะสม เช่นเฉยเมยไม่ยินดียินร้าย
มักใช้ความคิดของตนเองฝ่ายเดียว ขาดเหตุผลที่เหมาะสมตามความเป็นจริง ในความคิดมีแต่เรื่องราวที่สมมติขึ้นจนทำให้หลงผิด
มีลักษณะนิสัยที่ชอบเก็บตัวแยกตัวออกมาอยู่คนเดียว
เป็นพฤติกรรมที่หลีกเลี่ยงจากเหตุการณ์ บุคคล ที่ทำให้รู้สึกไม่ปลอดภัย
ตัดขาดจากสภาพความเป็นจริงไปสู้โลกของความฝัน
อารมณ์ทื่อ เฉยเมย
พยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
การจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา หากปฏิเสธ จำเป็นต้องพูดให้เข้าใจ
ประเมินความเสี่ยง เฝ้า ระวังและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ดูรูปแบบการนอน เมื่อถึงเวลานอน และจัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
ไม่สนใจเรื่องการแต่งกาย การเรียนการทำงาน
ไม่มีความสนใจโต้ตอบสิ่งกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อม ผู้ป่วยจะมีสีหน้าเรียบเฉย
การไม่มีความรู้สึก ไม่มีอารมณ์
พระราชบัญญัติ สุขภาพจิต 2551
มาตรา 21 ในกรณีที่ผูป่วยมีอายุไมถึง 18 ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้คู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ หรือผู้ปกครองดูแลบุคคลนั้น เป็นผู้ให้ความยินยอมแทน
มาตรา 23 ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันนาเชื่อวาบุคคลนั้นมีลักษณะผิดปกติทางจิต หรือ มีภาวะอันตราย ให้แจ้งเจ้าหน้า/ตำรวจ ทันที
ผู้ป่วยจิตเภทมีสิทธิ์ได้รับการบำบัด รักษา คุ้มครองตามความยินยอมของผู้ป่วย
สาเหตุ
ภาวะกังวลใจและอาการซึมเศร้า
อาจเคยมีอาการภาพหลอนเกิดขึ้นโดยปกติจะเกิดขึ้นในระยะสั้นๆ หรือระยะเวลาที่เกิดขึ้นของอาการมีความเกี่ยวข้องกับภาวะอารมณ์เเละความรู้สึกผู้ป่วยในช่วงเวลาหนึ่ง
โรคเกี่ยวกับระบบประสาทสัมผัส
ผู้ที่เคยมีอาการหูเเว่วหรือเห็นภาพผิดปกติอาจเป็นผู้ที่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะหลอนประสาทซึ่งอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในสมองและระบบประสาทสัมผัสที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็นหรือการได้ยินเสียงที่ส่งข้อมูลไปประมวลผลที่สมอง
โรคจิตเภท
เกิดจากความผิดปกติทางจิตที่ทำให้คนไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง
ภาวะถอนพิษสุรา
เป็นสาเหตุทำให้เกิดภาพหลอนเกิดขึ้นได้โดยเฉพาะในคนผู้ที่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะถอนพิษสุราขั้นรุนเเรงที่ทำให้เกิดอาการเพ้อได้
สาเหตุอื่นๆ
ในบางกรณีอาการเห็นภาพหลอนอาจเกี่ยวข้องกับโรคหรือการใช้ยาที่เข้าไปกระตุ้นทำให้เกิดภาวะประสาทหลอนได้
การใช้ยา
เกิดจากการใช้ยาที่เรียกว่า ยาหลอนประสาททำให้เกิดภาพหลอนขึ้น โดยจะเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานของสมองและทำให้เกิดการประมวลผลเกิดความคิดที่ผิดปกติ
ความหมายของโรคจิตเภท
เกิดจากความผิดปกติของสมองแสดงออกทางความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม
ความผิดปกติด้านอารมณ์ ความคิด การรับรู้และพฤติกรรมในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน โดยผู้ที่อาการจะต้องไม่มีโรคทางกาย โรคของสมองพิษของยาหรือยาเสพติด
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเริ่มเป็นเมื่ออายุประมาณ 14-16 ปี หรือช่วงปลายวัยรุ่น
ระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน
กลับไปอยู่บ้านจะไม่เสี่ยงอาการกำเริบ หรือมีแนวโน้มกับมาเป็นซ้ำได้
บทบาทของครอบครัวในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
พยายามหลีกเลี่ยงการแสดงอารมณ์ต่อผู้ป่วย ญาติผู้ป่วยจะต้องหลีกเลี่ยงการแสดงความโกรธ รำคาญ หรือรังเกียจผู้ป่วย
ไม่พูดข่มขู่ผู้ป่วยว่าจะจับไปขังหรือปล่อยทิ้งไว้ที่โรงพยาบาล
รับฟังความคิดเห็น ญาติผู้ป่วยเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยมากที่สุด จึงต้องคอยรับฟังความคิดเห็น ความรู้สึกของผู้ป่วยด้วยความเข้าใจและเห็นใจ ให้ความรักความอบอุ่นแก่ผู้ป่วยตามสมควร
ไม่แสดงความห่วงใย หรือคาดหวังผู้ป่วยจนเกินไป
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่อง ญาติผู้ป่วยต้องคอยดูให้ผู้ป่วยได้รับยาตามคำแนะนำของแพทย์อย่างสม่ำเสมอ ไม่หยุดยาเอง หรือหาแนวทางที่จะให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ระยะการดำเนิดโรค
ระยะ Maintenance
อาการผู้ป่วยคงที่ อาการด้านลบหรืออาการด้านบวกที่เหลืออยู่ไม่เป็นอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น
ความรุนแรงของอาการน้อยกว่า Stabilization phase
ระยะ Stabilization
อาการของโรคลดความรุนแรงลงอยู่ในช่วง 6 เดือน หรือมากกว่าหลังจากการรักษาใน Acute phase
อาการสงบลงแต่ยังต้องได้รับยาต่อเนื่องเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำ
ระยะ Acute
มีอาการทางจิตปรากฏชัดเจน รุนแรง อาจเป็นอันตรายต่อตัวผู้ป่วยผู้อื่นและ/หรือทรัพย์สิน