Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยดื่มน้ำวันละ 1500 ml.
ผลทางห้องปฏิบัติการปกติ ค่า uric acid 2.5 - 5.5 mg/dL ค่า BUN 5-18 mg/dL ค่า Cr 0.3 - 0.7 mg/dL
อธิบายให้มารดาและผู้ป่วยเด็กเข้าใจถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ **เหตุผล** เพื่อเตรียมความรู้ก่อนการให้ยาเคมีบำบัด
ดูแลได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำ 5% DN / 2 1000 ml iv 80 ml / hr. ตามแผนการรักษา
แนะนำให้มารดากระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ อย่างน้อยวันละ 1,500 ml
สอบถามอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยเช่นปัสสาวะมีเลือดปนปวดขณะปัสสาวะลักษณะของปัสสาวะผิดปกติเช่นสีเข้มปริมาณน้อยหรือมีเลือดปน
บันทึกปริมาณปัสสาวะเข้าทุก 8 ชั่วโมง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Urinalysis, BUN, Creatinine
เยื่อบุตาซีด
เยื่อบุตาซีดลดลง
ค่าทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ ค่า Hb 11.5 - 15.5 g/dL, ค่า Hct 35 - 45%, ค่า RBC 3.6 - 5.0 106/µL , ค่า MCV 78 - 102 fL , ค่า MCH 27 - 32 pg/cell , ค่า MCHC 28 - 33 g/dL
ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน
ดูแลให้ได้รับ LPRC 1 unit vein drip in 1 hr ตามแผนการรักษา
ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อนแบคทีเรียต่ำที่มีธาตุเหล็กสูง
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะซีดเช่นเยื่อบุตาซีดปลายมือปลายเท้าซีด Capillary refill time มากกว่า 2 วินาที
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่น Hb Hct MCV MCH MCHC
L-asparaginase 7500 IU IM (10000 IU/M2) (Day 4,6,8,10,12,14), ซึ่งมีผลทำให้เกิด Hypersensitivity reaction และ Anaphylaxis
2. สัญญาณชีพอยู่ในค่าปกติ
อธิบายให้ครอบครัวผู้ป่วยเด็กทราบชนิด ของยาเคมีบำบัดที่ได้รับ ตลอดจนผลข้างเคียงที่อาจ จะเกิดขึ้นและการทดสอบการแพ้
ดูแลให้ได้รับการ Test dose L-asparaginase 0.1 mL (dilute 20 unit/mL) intradermal ก่อนการให้ยา L-asparaginase 7,500 IU im
ประเมินลักษณะของตุ่มที่เกิดจากปฏิกิริยา การแพ้ 1 ชั่วโมงหลังการ Test dose L-asparaginase 0.1 mL (dilute 20 unit/mL) intradermal หากพบตุ่มน้ำ นูน หรือแดงให้ผลเป็น บวก รายงานแพทย์
เตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือเมื่อเกิด การแพ้ไว้ใกล้เตียงผู้ป่วย เช่น ยา epinephrine, diphenhydramine, and hydrocortisone.
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
อุณหภูมิอยู่ในค่าปกติ คือ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
WBC อยู่ระหว่าง 5000-10000 cells/mm3
ดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ และให้สวม Mask ทุกครั้งที่ออกนอกหอผู้ป่วย
ล้างมือ 6 ขั้นตอนคือ 1. ฟอกฝ่ามือและ ง่ามนิ้วมือด้านหน้า 2. ฟอกหลังมือและง่ามนิ้วมือ ด้านหลัง 3. ฟอกนิ้วและข้อนิ้วมือด้านหลัง 4. ฟอก นิ้วหัวแม่มือ 5. ฟอกปลายนิ้วมือ 6. ฟอกรอบข้อมือ โดยล้างมือ 5 เวลา คือ 1. ก่อนการสัมผัสผู้ป่วย 2.ก่อนทำ หัตถการสะอาดหรือปราศจากเชื้อ 3. หลัง สัมผัสสารน้ำ หรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย 4. หลังสัมผัสผู้ป่วย 5. หลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมของ ผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Tazocin 2 gm dose (of piperacillin) iv q 8 hr.
แนะนำให้ผู้ป่วยเด็ก และมารดาดูแลทำความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย
ดูแลด้วยหลัก Aseptic technique
ตรวจสอบสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC
ผู้ป่วยเป็นเด็กไม่ค่อยพูดคุยกับคนแปลกหน้า มีอะไรจะบอกกับมารดา
กลัวการทำหัตถการที่ก่อให้เกิดการปวด เช่น เจาะเลือด เจาะหลัง และรับประทานยายาก ร้องไห้ทุกครั้งเมื่อได้รับการทำหัตถการที่ก่อให้เกิดความปวด
และไม่ร่วมมือในการรับประทานยา
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยเด็กและ ครอบครัว
เปิดโอกาสให้เด็กได้ระบายความรู้สึกจากการได้รับการทำหัตถการ ที่ก่อให้เกิดความปวดด้วย การเล่าเรื่อง วาดภาพ ใช้สติ๊กเกอร์แสดงความรู้สึก
เตรียมผู้ป่วยเด็กก่อนการทำหัตถการด้วย การให้เล่นตุ๊กตาบทบาทสมมุติในการทำหัตถการ ต่าง ๆ รวมถึงการรับประทานยา
ให้มารดาอยู่ด้วยระหว่างการทำหัตถการ
การใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ผู้ป่วยเด็กไม่มีรอยจ้ำเลือดตามร่างกาย
ไม่มีรยพกช้ำตามร่างกาย
ดูแลให้ได้รับ LPPC 1 Unit vein drip in 1 hr ตามแผนการรักษา
ดูแลบ้วนปากด้วย Special mouth wash และ 7.5% NaHCO3 5 mEq + NSS 1000 ml แทนการแปรงฟัน
ดูแลให้ได้รับอาหารอ่อนแบคทีเรียต่ำตาม เวลา
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะ เลือดออก เช่น จุดเลือดออกเพิ่มมากขึ้น เลือดออก ตามไรฟัน เลือดกำ เดาไหล ถ่ายอุจจาระมีเลือดปน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Plt PT PTT
มารดาเข้าใจการรักษาเกี่ยวกับโรคที่บุตรเป็น
มารดามีสีหน้าที่สดชื่น ยิ้มแย้ม
เมื่อมีการทำหัตถการมารดาไม่ร้องไห้
สร้างสัมพันธภาพกับมารดาด้วยการทักทายพูดคุย
เปิดโอกาสให้มารตาระบายความรู้สึก
รับฟังด้วยความตั้งใจสนใจ
ประสานงานให้มารดาได้สอบถามการดำเนินโรคและแผนการรักษากับแพทย์เจ้าของไข้
แนะนำให้บิดาและญาติมาช่วยดูแลผู้ป่วยเด็กแทนมารดา
ประเมินความวิตกกังวลของมารดาภายหลังให้การดูแล