Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology of Gastrointestinal system - Coggle Diagram
Pathophysiology of
Gastrointestinal system
Physiology
•Gastrointestinal system
• Oral cavity
•Esophagus
•Stomach
•Small intestine and Colon
•Hepatobiliary system
•Liver
• Gall bladder
Vomiting
•Definition
forcible ejection of contents of stomach through the mouth
Mechanism
•กล้ามเนื อหน้าท้องและกระบังลมหดตัว
• หูรูดกระเพาะอาหารและกระเพาะส่วน Fundus คลายตัว
•กระเพาะอาหารส่วน Pylorus บีบตัว
•Soft palate หดตัวไม่ให้อาหารออกทางจมูก
•Epiglottis ปิดกล่องเสียง
•อ้วก !!!!
Pathway
•Central vomiting
•Brain -> Cortex, Limbic system
•กลิ่นเหม็นๆ
•ภาพสยดสยอง
• มโนภาพที่ท้าให้อยากอาเจียน
•เครียด
• Chemoreceptor trigger
•Medulla oblongata
•กระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในเลือดและไขสันหลัง
•Vestibular system
•เมารถเมาเรือ
•Vestibular disease
•Peripheral vomiting
• GI -> Infection, Inflammation
• Neurotransmitter of GI tract
• Vagal and sympathetic nerve
• กระตุ้นจากโรคของระบบทางเดินอาหารต่างๆ
Complication of Vomiting
• Hypovolemia(Water lost)
• Metabolic alkalosis (Acid lost)
• Hypokalemia (Potassium lost)
•Esophageal injury (Mallory Weiss tear, Borhaave’s syndrome)
• Aspiration
cause
• Disease of GI tract
• Drug-> Pethidine
• Metabolic cause
• Vestibular system
• Increase intracranial pressure
• Psychiatric illness->
Anorexia nervosa(โรคคลั่งผอม
) :red_flag:
คนเหล่านี้จะมี BMI ตํ่ากว่าเกณฑ์
ล้วงคออ้วกเป็นประจ้า
Constipation (ท้องผูก)
อาการ
•อุจจาระ < 3 ครั ง/สัปดาห์
•อุจจาระต้องแข็งแห้ง ใช้แรงเบ่งมาก
• หลังอุจจาระรู้สึกว่ายังไม่สุด หรือมีความอึดอัดไม่สบายท้อง
:red_flag:บางคนถ่ายสัปดาห์ละครั้ง แต่ถ้าอุจจาระปกติไม่แข็งแห้ง ไม่ถือว่าเป็นConstipation
Pathophysiology
•Slow colon transit
• Drugs -> Opiate (Tramadol, Morphine), :red_flag:
• Metabolic disease -> Hypothyroidism
•Increase bowel Na/H2O absorption
•Insufficient fiber
•Insufficient bile acid
• Defecatory problem-> Colon cancer :red_flag:
•Psychiatry
Diarrhea (อุจจาระร่วง)
อาการ
•อุจจาระเหลว ≥ 3 ครั ง/วัน
•อุจจาระมีมูกปนเลือด ≥ 1 ครั ง/วัน
•Classification of diarrhea
• Acute < 2 weeks
•Persistent 2-4 weeks
• Chronic > 4 weeks
Mechanisms
•Secretory diarrhea
•กระตุ้น cAMP ที่เยื่อบุล้าไส้เล็ก
•ขับ Cl ออกมาในล้าไส้ ส่งผลให้ Na และ H2O ถูกดึงตามมาในล้าไส้
• ถ่ายเหลวออกมาปริมาณมาก ๆ และต่อเนื่อง
•สาเหตุ
• V. cholera
• E. coli
• C. difficile
•Osmotic diarrhea
•เกิดจากความผิดปกติของการย่อย ซึ่งไม่สามารถย่อยสารใด ๆ ก็ตามที่สามารถดึงนํ้าเข้าหาตัวได้
•ถ่ายเหลวปริมาณปานกลาง
•กินก็จะถ่ายเหลว ไม่กินก็จะหยุดถ่าย
•สาเหตุ
• Lactase deficiency -> ย่อย Lactose ไม่ได้ทำให้ Lactose ดึงนํ้าเข้ามาในล้าไส้
•Decreased motility
•ลำไส้เคลื่อนตัวขับอุจจาระช้าเกินไป
• ทำให้เกิดแบคทีเรียโตในส้าไส้มากเกินไป และถ่ายเหลวได้
•สาเหตุ
เช่น Neuromuscular defect of bowel
•Increased motility
•ล้าไส้เคลื่อนตัวมากเกินไป อาหารเคลื่อนผ่านล้าไส้อย่างรวดเร็ว
•อุจจาระถูกดูดซับน ้าได้ไม่ทัน เกิดอาการถ่ายเหลว
•สาเหตุ
เช่น Irritable bowel syndrome, Thyrotoxicosis
•Decreased surface area (osmotic, motility)
• เกิดจากกลไก Osmotic + Motility ร่วมกัน
• เชื้อที่พบบ่อย Rotavirus สาเหตุท้องเสียงในเด็ก
• กลไกคือ เชื้อไวรัสเข้าไปเกาะที่ลำไส้ส่วน Jejunum(หน้าที่ดูดซึมนํ้าตาลและแป้ง) ilium (สร้างสารลดการเคลื่อนตัวของลำไส้)
• ทำให้ผนังลำไส้ส่วน Villi ถูกทำลายพื้นที่ในการดูดซึมลดลง เกิด Osmotic diarrhea
• ilium มีการสร้างสาร encephalin ลดลง ลำไส้เคลื่อนตัวมากขึ้น (Motility diarrhea)
•Mucosal invasion (Exudative diarrhea)
• ลุกลํ้า (Invasion)ของเชื้อแบคทีเรียสู่ผนังลำไส้ส่วนใน
• Macrophage มากินเชื้อโรคและสลายตัวเองไป
• Neutrophil ทำให้เกิดกระบวนการอักเสบ ผนังลำไส้ถูกทำลายเกิดการหลุดลอกของผนังล้าไส้ ถ่ายเหลวออกมาเป็นมูกเลือด
•ตรวจอุจจาระมักพบ WBC
•สาเหตุ
• Shigella
• Salmanella
• EHEC
Abdominal pain
Type
•Visceral pain
-> ลักษณะอาการปวดของVisceral peritoneum ทุกอวัยวะในช่องท้อง
• แสดงอาการปวดบริเวณ Midline บอกตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ กดเจ็บไม่ชัดเจน :red_flag:
• เกิดจากการกระตุ้นอาการปวดของ C fiber Network of afferent ในแต่ละอวัยวะ
• Fore gut -> Epigastrium pain
• Mid gut -> Periumbilical pain
• Hind gut -> Hypogastric pain
•Parietal pain
• เป็นอาการปวดของ Parietal peritoneum ที่หุ้มผนังช่องท้อง
•ระบุตำแหน่งปวดได้ชัดเจน อาการปวดจะเป็นแบบ Sharp pain
•เกิดจากการกระตุ้น Somatic nerve (A-delta fiber)
•Refer pain
-> เป็นอาการปวดตำแหน่งที่ไกลจากอวัยวะนั้นๆ
•เกิดจากการใช้ Central pathway ร่วมกันของ Afferent neuron
• Afferent neuron ตอนเป็น Embryo มันจะอยู่ใกล้ๆกัน แต่พอ Development ของอวัยวะต่างๆ ทำให้ Afferent neuron บางส่วนไปอยู่อีกที่หนึ่ง
Anatomy
• ทางเดินอาหารแบ่งออกเป็น 3 part ใหญ่ๆ
• Fore gut (ส่วนต้น) Esophagus - proximal half of duodenum
• Mid gut (ส่วนกลาง) Second half of duodenum -> 2/3 transverse colon
• Hind gut (ส่วนปลาย) distal transverse colon -> Anus
Cause
•สาเหตุทางด้านศัลยกรรม(Surgical condition)
•รักษาด้วยการผ่าตัดฉุกเฉิน หรือรักษาด้วยยา
•สาเหตุทางด้านอายุรกรรม(Medical condition)
•รักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว
•สาเหตุทางด้านนรีเวชกรรม(Gynecologic condition)
• รักษาด้วยยาและการผ่าตัด
Gastrointestinal bleeding
•คือ ภาวะตกเลือดในระบบทางเดินอาหาร
•จุดแบ่งระหว่าง UGIH และ LGIH คือLigament of Treitz ซึ่งอยู่ที่ 2/3 ของ Duodenum
•ประกอบด้วย 2 แบบ
• Upper gastrointestinal bleeding (UGIH)
อาการ
•อาเจียนเป็นเลือดสด (Hematemesis)
•อาเจียนเป็นสีนํ้าตาล (Coffee ground)
•ถ่ายดำ (Melena) หรือถ้าเลือดออกมากๆ จะถ่ายเป็นเลือดสด (Hematemesis)
สาเหตุ
• Peptic ulcer bleeding 45%
:star:•สาเหตุส้าคัญอย่างหนึ่ง คือ เชือแบคทีเรีย H.pylori
รักษาพิเศษ ให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย เรียกว่า “
H. pylori eradication”
•คือ ภาวะเลือดออกจากการมีแผล(Erosion)ที่ Stomach หรือ Duodenum แผลลึกถึงเส้นเลือดก็แตกและเลือดออกได้
• Esophageal varices 20%
•พบในผู้ป่วยที่มีภาวะ Portal hypertension โดยเฉพาะ ตับแข็ง(Liver cirrhosis) :red_flag:
•เมื่อมี Portal hypertension เส้นดำที่หลอดอาหารโป่งพอง (Esophageal varices)
•แรงดัน Portal system สูงมาก เกิดเส้นเลือดแตกได้
•Esophageal varices bleeding มักทำให้เลือดออกมาก และเสียชีวิตได้
• Gastritis 20%
•คือการอักเสบของกระเพาะอาหาร
•เอักเสบมากๆ ทำให้เกิดจุดเลือดออกเล็กๆ กระจายทั่วกระเพาะอาหาร
•สาเหตุ : NSAID used, Alcohol, Steroid, Chemical burn
• Mallory-Weiss syndrome 10%
•เกิดจากภาวะหลอดอาหารฉีกขาดและเลือดออก มักเกิดหลังอาเจียนที่รุนแรงหลายครั้ง
•ประวัติที่พบบ่อย อาเจียนมาก จากนั้นอาเจียนเป็นเลือดตามมา มักมีอาการเจ็บอกร่วมด้วย:red_flag:
•หากหลอดอาหารฉีกทะลุถึง Mediastinum เรียกว่า
Boerhaave’s syndrome
:red_flag:
• Uncommon cause 5% -> Gastric cancer
•คือภาวการณ์เจริญเติบโตของเซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร (Dysplasia)
•สาเหตุ เริ่มจากการเป็นๆหายของแผลที่เกิดกระบวนการรักษาตัวซํ้า ๆ ร่วมกับ Carcinogen +ติดเชื้อ H.pylori
•ไม่มีอาการที่จำเพาะเจาะจง มักมาด้วยอาการจุกเสียดแน่นลิ้นปี่คล้ายๆอาการของ Dyspepsia
•Lower gastrointestinal bleeding (LGIH)
•คือ ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วน Distal ต่อ Ligament of Treitz
(ส่วนมากมักเกิดจาก lesion บริเวณ Colon)
•อาการที่พบได้บ่อย คือ ถ่ายเป็นเลือด (Hematochezia)
•สาเหตุของ LGIH
• Diverticular disease
พบบ่อยที่สุด :red_flag:
• มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ มากกว่า 70ปี
• มักพบตำแหน่ง Sigmoid colon ที่ใช้แรงบีบอุจจาระมาเป็นเวลานาน ทำให้กล้ามเนื้อผนังล้าไส้อ่อนแอ เกิดเป็นกระเปาะ (Diverticulosis) ซึ่งแตกและมีอาการถ่ายเป็นเลือดได้
•Inflammatory bowel disease
•คือ กลุ่มอาการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร
•เป็น 2 ชนิด
• Ulcerative colitis -> เกิดเฉพาะ Colon เท่านั้น :red_flag:
• Crohn’s disease -> เกิดได้ทั่วทั งทางเดินอาหาร
:red_flag:
•สาเหตุ เกิดจากพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม
•มักมาด้วยอาการถ่ายเป็นมูกเลือด มีไข้ปวดท้องร่วมด้วย
• Colon cancer
•คือ โรคที่เซลล์เยื่อบุผิวลำไส้ใหญ่เจริญเติบโตผิดปกติ เกิดเป็นเนื้อร้ายลุกลามอวัยวะข้างเคียง
•มักมาด้วยอาการอุจจาระลำเล็กลง หรือถ่ายเป็นเลือดในลักษณะต่างๆ ได้
• Hemorrhoid and Anal fissure
• Hemorrhoid เป็นการโป่งพองของเส้นเลือดที่ทวารทำให้เกิดก้อนภายในและภายนอกทวาร ซึ่งสามารถแตกและเกิดอาการถ่ายเป็นเลือดได้
• ปัจจัยที่ท้าให้เกิด Hemorrhoid คือ อุปนิสัยนั่งอุจจาระนาน ท้องผูกบ่อย
• Anal fissure คือแผลบริเวณทวารที่เกิดจากการถูกอุจจาระแข็งดึงถ่างทวารจนเกิดแผล
•มีอาการถ่ายเป็นเลือด และปวดทวารลักษณะเหมือนมีดบาด อุจจาระเคลื่อนผ่านแผล
Dysphagia
•คือภาวะกลืนติดกลืนลำบาก
•แบ่งเป็น 3 ประเภท
• Oropharyngeal dysphagia
• พยาธิสภาพอยู่บริเวณช่องคอและกล้ามเนื้อการกลืน จนถึงหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
•สาเหตุที่พบบ่อย Stroke ที่ส่งผลต่อการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อการกลืน โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดต่าง ๆ และยาบางชนิด
• Esophageal dysphagia
• พยาธิสภาพอยู่บริเวณหลอดอาหารตั้งแต่หูรูดหลอดอาหารส่วนบนจนถึงกระเพาะอาหารส่วน Cardia
•โรคที่พบบ่อยคือ CA esophagus ในผู้สูงอายุ
•มาด้วยอาการกลืนล้าบากแบบค่อยๆเป็น ตั้งแต่อาหารแข็ง อาหารอ่อน อาหารเหลว สุดท้ายก็กลืนลำบาก
• Functional dysphagia
•เกิดจาก Esophageal stricture
•พบในผู้ป่วย Gastroesophageal reflux disease (GERD)
Functional dysphagia
• ภาวะกลืนลำบากที่เกิดจาก Lower esophageal sphincter ไม่สามารถคลายตัวได้ ทำให้อาหารและนํ้าไม่สามารถไหลลงสู่กระเพาะ
•อาการมักจะไม่สามารถกลืนอาหารและนํ้าได้เลยอย่างเฉียบพลัน :red_flag:
Gastroesophageal reflux disease
• ภาวะที่กรดจากกระเพาะอาหารไหลย้อนเข้าสู่หลอดอาหาร และเกิดการระคายเคืองหลอดอาหารได้
• พยาธิสภาพเกิดจาก Lower esophageal sphincter เกิดการคลายตัว :red_flag:
•อาการ จุกเสียดแน่นลิ้นปี่หรืออก เรอเปรี้ยว ขมคอ
• ภาวะแทรกซ้อนคือ หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis) มะเร็งหลอกอาหาร (CA esophagus)
• ปัจจัยที่ทำให้เกิดกรดไหลย้อน
• อ้วน BMI เกิน
• รับประทานอาหารรสจัด
• ดื่มกาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
• อุปนิสัยกินแล้วนอน
• สูบบุหรี่
Obstruction disease
•คือภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนใดก็ตาม
• Gastric outlet obstruction
• Pyloric stenosis
•คือภาวะอุดตันของทางเดินอาหารบริเวณกระเพาะอาหารส่วน Pylorus
•สาเหตุมักเกิดจาก Peptic ulcer disease เรื้อรังที่ก่อให้เกิดแผลเป็นและพังผืด(Scar and fibrosis)
• ทำให้กระเพาะอาหารส่วน Pylorus เริ่มเกิดการอุดตันช้า ๆ
•มักมีอาการ อาเจียนหลังทานอาหารภายใน 1 ชั่วโมง
•Intestinal obstruction
• Small bowel obstruction
•คือ ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้เล็ก
•สาเหตุ
• Post-operative adhesion 60%
ผู้ป่วยจะมีประวัติเคยได้รับการผ่าตัดช่องท้องมาก่อนเสมอ** :red_flag:
•อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน ไม่ถ่ายไม่ผายลม ปวกบิดท้อง มีไข้
• Large bower obstruction
•เป็นภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนล้าไส้ใหญ่
• มักพบในคนสูงอายุสาเหตุที่พบบ่อย Colon cancer ในเด็กมักเกิดจาก Sigmoid volvulus
• อาการ ไม่ถ่ายไม่ผายลม ท้องบวมโต อาเจียนบางครั้งจะอาเจียนเป็นอุจจาระ
Pathophysiology of
Hepatobiliary tract system
•Bilirubin metabolism and Jaundice
Metabolism of bilirubin
• RBCแตกสลายได้ Heme
• Macrophage ย่อย Heme ได้ Unconjugated bilirubin เข้าสู่ Liver
• Glucorunic acid จับกับ Unconjugated bilirubin กลายเป็น Conjugated bilirubin
• Conjugated bilirubin ขับสู่ล้าไส้ถูก Bacteria ย่อยได้ Urobilinogen
• Urobilinogen บางส่วนถูกขับออกทางไต
• Urobilinogen บางส่วนถูก Oxidized กลายเป็น Stercobilin
Jaundice
•คือภาวะดีซ่านที่เกิดจากสารเหลือง(Bilirubin)ไปสะสมที่ผิวหนัง
• Prehepatic jaundice
• เป็นโรคที่เกิดจากการสลายของ RBCมากเกินไป เช่น Hemolysis
• Indirect bilirubin สูง, Liver enzyme ปกติ
• Hepatocellular jaundice
• เกิดจากสาเหตุที่ตัวตับเอง มักมีค่า Direct bilirubin สูง, AST และ ALT สูง
• เช่น Viral hepatitis, Live cirrhosis, Drug induced hepatitis
• Cholestasis jaundice
• เกิดจากการอุดตันของทางเดินน ้าดีจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น Common bile duct stone
• มักมีค่า Direct bilirubin สูง ALP สูง
•Portal system, Liver cirrhosis and portal hypertension
Hepatic portal system
•เป็นระบบการรับเลือดดำจากทางเดินอาหารที่มีสารอาหารและสารพิษบางอย่าง เข้ากระบวนการกำจัดสารพิษที่ตับ ก่อนเข้าสู่ระบบไหลเวียนของร่างกาย
Portal hypertension
•คือภาวะที่เลือดในระบบ Hepatic portal system มีแรงดันที่สูงขึ้นจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ขวางกั้นทางเดินของ Portal system
• ผลลัพธ์
• Portosystemic venous shunt เกิดเส้นเลือดดำที่ท้องขยายตัว(Caput medusae)
• เกิดเส้นเลือดที่หลอดอาหารโป่ง Esophageal varices
• ตับโตม้ามโต (Hepatosplenomegaly)
• ท้องมานนํ้า (Ascites)
Liver cirrhosis
•ผลของตับแข็ง
• กำจัดสารพิษจากทางเดินอาหารได้น้อยลง
• สร้างอาหารสะสม และโปรตีน Albumin น้อยลง
• สร้างนํ้าย่อยมาย่อยไขมันได้ลดลง
• สร้าง Coagulation factor ได้ลดลง
•คือภาวะเนื้อตับได้รับความเสียหายอย่างถาวรมี
ความแข็งตัวขึ้นจากพังผืดที่เกิดขึ้นภายในเนื้อตับ
•
อาการ
• Jaundice
• Ascites
• Spider navi
• Gynecomastia and testis atrophy
• Caput medusa