Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
7.3 การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง (Intracranial infection),…
7.3 การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง (Intracranial infection)
ไข้สมองอักเสบ(Encephalitis)
สาเหตุ
Primary viral encephalitis หมายถึง การที่มีไวรัสเข้าไปสู่สมองแล้วทําให้เกิดการอักเสบขึ้น
1.2 ไวรัสเริม ทําให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบได้ในทุกวัย และทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชิ้อไวรัสเริมบริเวณช่องคลอด
1.3 ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
1.1 ไวรัสที่น าโดยแมลง โดยเฉพาะโรคไข้สมองอักเสบเจอี หรือ Japanease B. Virus เป็นสาเหตุของการตดิเชื้อไวรัสในสมองที่พบบ่อยที่สุด
Secondary viral encephalitis หมายถึง การที่มีสมองอักเสบโดยเป็นผลมาจากปฏิกิริยาที่มีไวรัสเข้าสู่ร่างกายซึ่งปกติไวรัสนั้นไม่ได้เข้าสู่สมองเป็นสําคัญปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นประเภท allergic หรือ Immune reaction เชท้อที่สําคัญในประเภทนี้ได้แก่ หัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส คางทูม รวมทั้งวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
อาการและอาการแสดง
ไข้ มักสูงได้มาก ๆ ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อคลั่ง อาละวาด มีอาการทางจิต
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Involuntary movement)
ซึมลง จนกระทั่งถึงขั้นโคม่า ภายใน 24 –72 ชั่วโมง
การหายใจไม่สม ่าเสมอ อาจหยุดเป็นห้วง ๆ
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงดังที่กล่าวข้างต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ในช่วง 2-3 วันแรกเม็ดเลือดขาวสูง
และนิวโตรฟิ ลขึ้นสูงต่อมาจะอยู่ในเกณฑ์ปกต
3.2 การตรวจนํ้าไขสันหลัง
3.3 การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง (MRI) เป็นการตรวจที่ได้ผลรวดเร็ว อาจพบพยาธิสภาพที่ตําแหน่งฐานของกะโหลกศีรษะ บริเวณ temporal lobe
3.4 การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) อาจพบลักษณะผิดปกติเฉพาะข้างใดข้างหนึ่งถ้ามีลักษณะผิดปกติทั้ง 2 ข้างมักมีการพยากรณ์โรคที่ไม่ดี
3.5 การตรวจวินิจฉัยแยกสาเหตุของเชื้อ
ประวัติจากผู้เลี้ยงดู ให้ข้อมูลว่าผู้ป่วยมีไข้สูง ซึม คอแข็ง เป็นต้น
การรักษา
การให้ยา ดังนี้
1.ยาระงับชัก
2.ยาป้องกันและรักษาความสมองบวมตั้งแต่ระยะแรกๆ ยาที่ลดอาการบวมของสมอง
3.ยานอนหลับ เพื่อลดอาการกระสับกระส่ายอาการเพ้อคลั่ง
4.ยา acyclovir ทางหลอดเลือดดํา
5.ยาลดไข้
6.ยาต้านจุลชีพหรือยาปฎิชีวนะ
การให้สารสารอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว แพทย์อาจพิจารณาให้อาหารทางสายยางและ/หรือสารอาหารทางหลอดเลือดดํา
ดูแลระบบหายใจของผู้ป่ วยให้ปกติ และหายใจสม ่าเสมอ เพื่อป้องกันสมองขาดออกซิเจน ซึ่งจะท าให้ผู้ป่ วยมีภาวะสมองบวม ถ้าจ าเป็นแพทย์อาจจะพิจารณาให้
ออกซิเจนหรือเจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ บางรายต้องเข้าอภิบาลหอผู้ป่วยหนัก
รักษาสมดุลของปริมาณนํ้าเข้า-ออกของร่างกาย โดยให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดํา
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยที่มีอาการของโรครุนแรงอาจเสียชีวิต
ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการของโรคไม่รุนแรงอาจหายเป็นปกติ หรือมีความพิการของสมอง เช่น
-การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (spastic)
-อาการสั่น (tremor)
-โรคลมชัก อัมพาตครึ่งซีก (paralysis) พูดไม่ชัดหรือพูดไม่ได้
ความจําเสื่อมและความคิดตํ่ากว่าวัย พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
มีความผิดปกติทางอารมณ์
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
สาเหตุ
. Viral meningitis หรือ Aseptic meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิ เช่น ตัวจี๊ด จากการรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ หรือการว่ายนํ้าในหนอง บึงหรือดื่มนํ้าที่ไม่สะอาดมีการปนเปื้อนเชื้ออะมีบา
การติดเชื้อรา (fungal meningitis) เช่น Candida albicants, Cryptococcus neoformans เป็นต้น
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ (non-infection diseases)
1.Bacterial meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียพบได้ไม่บ่อยเท่า
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสแต่ภาวะโรครุนแรงมากกว่า
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
การติดเชื้อลุกลามโดยตรง การติดเชื้อกระจายสู่
Subarachnoid Space โดยตรงโดยมีแหล่งติดเชื้อบริเวณใกล้เคียง เช่น มีการอักเสบของหูชั้นกลางอย่างเรื้อรัง
ได้รับเชื้อโดยตรงจากการเปื้อนของเชื้อ เช่น มีการแตกหักของกะโหลกศีรษะ หรือมีกระดูกแตกที่บริเวณฐานของกะโหลกศีรษะ ทําให้นํ้า ไขสันหลังไหลออกมาทางจมูกหรือหู
การติดเชื้อผ่านทางกระแสโลหิตโดยที่มีแหล่งติดเชื้ออยู่ที่ส่วนอื่นของร่างกายแล้วแบคทีเรียเข้าสู่กระแสโลหิต(Bacteremia)
ไปสู่ Subarachnoid Space ได้
อาการและอาการแสดง
2.อาการที่แสดงว่ามีการระคายของเยื่อหุ้มสมอง(Meningeal Irritation)ร่วมกับความผิดปกติในการทํางานของสมองผู้ป่วยจะปวดศีรษะมากและปวดที่บริเวณคอ
3.อาการที่แสดงถึงภาวะแทรกซ้อน เช่น สมองบวม มีนํ้าหรือหนองในช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง มีฝีในสมอง
1.อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ คือ มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหารในเด็กเล็กๆ จะกระสับกระส่ายหรือหงุดหงิดไม่ยอมดูดนมหรือมีอาเจียนได้ง่าย
การวินิจฉัย
ประวัติของผู้ป่ วย โดยบิดามารดา หรือผู้เลี้ยงดูจะให้ข้อมูลว่า้ป่ วยมีไข้สูง ปวดศีรษะและปวดคอ ซึม อาเจียน เด็กเล็กไม่ยอมดูดนม ร้องกวน กระสับกระส่าย
การตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
2.4 การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง (CT scan) การตรวจคอมพิวเตอร์สมองเพื่อค้นหาต าแหน่งของการติดเชื้อและการลุกลามของโรค
2.2 การตรวจนํ้าไขสันหลัง เพื่อช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคและหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรค
2.1 การตรวจเลือด พบปริมาณเม็ดเลือดขาวมีจํานวนสูงขึ้น และมีอีโฮซิโนฟิ ลสูง ผลการน าเลือดเพาะเชื้อจะพบเชื้อแบคทีเรีย
2.3 การย้อมสีนํ้าไขสันหลัง (gram stain) การนํานํ้าไขหลังย้อมสีจะพบเชื้อแบคทีเรีย และการเพาะเชื้อจากนํ้าไขสันหลังจะพบมีการติดเชื้อแบคทีเรียเกิดขึ้นเช่นกัน
การรักษา
การรักษาทั่วไปตามอาการและการรักษาแบบประคับประคอง
2.1 ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูง
2.2 ให้ยานอนหลับเพื่อลดอาการกระสับกระส่าย
2.3 ให้ยากันชักในผู้ป่วยที่มีอาการชักเกร็ง
2.4 ให้ยาลดอาการบวมของสมองในผู้ป่วยที่มีอาการสมอง
บวม เช่น ม่านตาโตขึ้น หัวใจเต้นช้า ซึมลง เป็นต้น
2.5 ให้สารน ้าทางหลอดเลือดดํา เพื่อรักษาภาวะสมดุลของนํ้าและอิเลคโตรไลท์
2.6 เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีปัญหาการหายใจ หรือภาวะหมดสติ
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
3.1 ของเหลวคั่งในช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง (subdural effusion) พบได้บ่อยร้อยละ 30 เกิดจากการเชื้อ hemophilus influenza type B ร้อยละ 20 เกิดจากการติดเชื้อ streptococcus pneumonia
3.2 ฝีในสมอง (brain abscess) จะพบอุบัติการณ์การเกิดฝีในสมองจากภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบได้น้อย การรักษาทําได้โดยการผ่าตัดและ/หรือให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
3.3 ความดันในกะโหลกศีรษะสูง พบว่าผู้ป่ วยเด็กที่เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียความดันน ้าไขสันหลังสูงกว่า 200 mmนํ้า ซึ่งอาจเกิดจากภาวะสมองบวม
3.4 การมองเห็นและการได้ยินผิดปกติ พบว่าผู้ป่ วยเด็กเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากจากเชื้อแบคทีเรียมักเกิดปัญหาหูหนวก ซึ่งเกิดจากการอักเสบโดยรอบเส้นประสาทลุกลามเข้าถึงเส้นประสาททําให้เกิดพังผืดไปบีบรัดประสาทสมองท าให้ประสาทสมองพิการ
การรักษาเฉพาะ
การพยาบาล
ผู้ป่วยเด็กมีภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะและเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากการชัก
อาจได้รับสารอาหารและนํ้าไม่เพียงพอ เนื่องจากอาการและพยาธิสภาพทางสมองและการได้รับยาขับนํ้า
ไม่สุขสบายพักหลับได้น้อยเนื่องจากภาวะ ICP มีการระคายเคืองจากการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองหรือ
เนื้อเยื่อสมอง มีไข้ มีความเจ็บปวด
🌳นางสาววนิดา พลมั่น 621201152🌳