Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีการออกแบบ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ - Coggle Diagram
เทคโนโลยีการออกแบบ
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ถังปฏิกรณ์ที่เชื้อจุลินทรีย์อยู่ในสภาพแขวนลอย
(Suspended growth)
ถังปฏิกรณ์แบบกวนสมบูรณ์ OSTR/ ถังแบบ AC
ถังปฏิกรณ์ที่ของเหลวและของแข็งภายในถังเกิดการกวนผสม อย่างดี วิธีการกวนผสมมักทําโดยการติดตั้งใบกวน ซึ่งใบกวนที่ใช้จะมีรูปทรงต่างๆ เช่น แบบ Paddle แบบ Impeller หรือสกรู (Screw)
ถังปฏิกรณ์แบบตะกอนลอย UASB
เชื้อจุลินทรีย์เกิดการยึด เกาะกันเองจนเป็นเม็ดตะกอนที่เรียกว่า Granule
ถังปฏิกรณ์ UASB ประกอบด้วย 4 ส่วน
1) ส่วนของตะกอนชั้นล่าง (Sludge Bed)
2) ส่วนชั้นตะกอนลอย (Sludge Blanket)
3) ส่วนของอุปกรณ์แยกเม็ดตะกอนและก๊าซชีวภาพออกจากของเหลว (Gas-Liquid-Solid Separator, GLSS)
4) ส่วนของอุปกรณ์ในการตกตะกอน (Settlement Compartment) ถังปฏิกรณ์แบบ UASB (ส่วน3 และ 4) รวมเรียกว่า 3 Phase Separator)
ระบบบ่อปิดแบบไม่ใช้อากาศ Anaerobic Covered lagoon
ตัวถังปฏิกรณ์มีลักษณะเป็นบ่อดินขุดขนาดใหญ่ โดยปกติบ่อควรมีความลึกไม่ต่ำกว่า 6 เมตร และปิดคลุมด้วยแผ่นพลาสติกทําด้วย PVC หรือ HDPE ที่ด้านบน เพื่อเก็บกักก๊าซชีวภาพโดย เก็บก๊าซภายใต้ความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศเล็กน้อย ทําให้แผ่นโปงขึ้น)
ระบบบ่อปิดแบบไม่ใช้อากาศดัดแปลง Modified covered lagoon
การปรับปรุง/ดัดแปลง จากระบบบ่อปิดแบบไม่ใช้อากาศ Anaerobic Covered lagoon
ระบบแผ่นกั้นแบบไม่ใช้อากาศ AER
แผ่นกั้นไม่ใช้อากาศ คือ มีแผ่นกั้น (Baifle) ทางกายภาพ หรือห้อง เพื่อเป็นการบังคับให้น้ำเสียไหลขึ้น ไหลลงตามแผ่นกั้น
ระบบบ่อแบบราง Plug flow anaerobic digester
ลักษณะบ่อที่มีการไหลในแนวระดับ (Horizontal flow) ลักษณะทางกายภาพส่วนใหญ่จะมีอัตราส่วนหน้าตัด (ที่ตั้งฉากกับการไหล) ต่อความยาวของบ่อต่ำ เพื่อให้มีการกวนผสมเฉพาะในแนวตั้งฉากกับทิศทางการไหลของน้ำไม่มีผนัง กั้นเหมือนกับบ่อแบบ ABR
ถังปฏิกรณ์ที่เชื้อจุลินทรีย์เกาะอยู่บนวัสดุตัวกลาง
(Attached growth)
ตัวกลางในถังปฏิกรณ์สามารถแบ่งได้ 2 กลุ่มตามลักษณะที่อยู่ในถัง
1) ตัวกลางที่ถูกยึดติดอยู่กับที่ (Fixed Bed) และ
2) ตัวกลางที่เคลื่อนที่ (Mobile Bed) ในถังปฏิกรณ์
ถังกรองไม่ใช้อากาศ (Anaerobic Filter,AF)/ ถังแบบตรึงฟิล์มจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้อากาศ
(Anaerobic Fixed Film; AFF)
ถังปฏิกรณ์แบบฟลูอิดไดซ์เบด (Anaerobic fluidized bed)
จุดเด่น ข้อจํากัดของเทคโนโลยี
และการเปรียบเทียบทางเทคโนโลยี
การประเมินค่าใช้จ่าย
ในการลงทุนและการเดินระบบเบื้องต้น