Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชนิดและหน้าที่ของคํา, คําปฏิเสธกริยา ได้แก่ มิ ไม่ หาไม่ หา...ไม่,…
ชนิดและหน้าที่ของคํา
คําบุพบท คือ คําที่ปรากฏหน้านามวลีและประกอบกันเข้าเป็นบุพบทวลี คําบุพบทใช้บอกความหมายหลายประการ ที่พบมากได้แก่คําบุพบทที่บอกความหมายดังต่อไปนี้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
คําช่วยกริยา คือ คําที่ไม่ใช้คํากริยาและไม่ปรากฏตามลําพัง แต่จะปรากฏร่วมกับคํากริยาและอยู่ข้างหน้าคํากริยาเสมอเพื่อบอก
ความหมายทางไวยากรณ์ของกริยา
- แสดงความหมายว่าเกิดเหตุการณ์อยู่ในขณะใดขณะหนึ่ง เกิดเหตุการณ์เป็นประจํา หรือเหตุการณ์เพิ่งสิ้นสุดไป
-
- แสดงความหมายบอกกาลว่าเป็นอดีตหรืออนาคต
-
คำนาม หมายถึง บุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ สภาพธรรมชาติสถานที่
ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม รวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม
และนามธรรม คํานามทําหน้าที่เป็นส่วนหลักของนามวลีคํานามจําแนกเป็น
-
-
คํานามสามัญ
คือ คํานามที่ใช้เรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป มิได้ระบุแน่นอนว่าเป็นสิ่งนี้ มีชื่อ
เรียกอย่างนี้ หรือสิ่งนั้นมีชื่อเรียกอย่างนั้น
-
คําอาการนาม
คือ คํานามที่เกิดจากกระบวนการแปลงคํากริยาเป็นคํานาม โดยการเติม
หน่วยคําเติมหน้า การ- หรือ ความ- หน้าคํากริยา คําอาการนามจะมีความหมายเป็นนามธรรมเสมอ
หน่วยคําเติมหน้า ความ- เช่น ความเป็นอยู่ ความโลภ ความโกรธ ฯลฯ (มักแสดงสภาพของกริยา หรือแสดงลักษณะรวมๆ ของกริยา)
-
คําที่เกี่ยวกับจํานวน
-
คําหน้าจํานวน คือ คําที่ปรากฏอยู่หน้าคําบอกจํานวนและมีคําลักษณะนามตาม เช่น อีก สัก ตั้ง ทั้ง เพียง ประมาณ
คําบอกจํานวน คือ คําที่ทีความหมายถึงจํานวน มักอยู่หน้าคําลักษณะนาม และคํานาม (คํานาม+คําบอกจํานวน+คําลักษณะนาม)
คําหลังจํานวน คือ คําที่ปรากฏอยู่หลังคําบอกจํานวน อาจอยู่หน้าหรือหลังคําลักษณะนามก็ได้ เช่น กว่า เศษ พอดี ถ้วน
-
-
-
-
-
คําอุทาน คือ คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ เช่น สะเทือนใจ ตกใจ ดีใจ เห็นใจ
ประหลาดใจ สงสาร
-
- มีอะไรอยู่ใต้นี้
- ตรงนั้นไม่ควรวางของ
- นกเกาะอยู่บนโน้น
- ต่าง เพื่อแสดงว่ามีหลายฝ่าย > ชาวนาต่างก็เกี่ยวข้าวแล้วนําข้าวขึ้นยุ้งฉาง
- บ้าง เพื่อแสดงว่ามีหลายฝ่าย > เงินทองที่หามาได้ ฉันก็ใช้บ้าง เก็บบ้าง
- กัน ใช้แทนคํานามหรือคําบุรุษสรรพนามข้างหน้า > มวยวันนี้ต่อยกันมันทุกคู่
ฉันกินขนม , พ่อฟังข่าว , น้องอ่านหนังสือ
- พี่ป้อนข้าว น้อง ข้าวทําหน้าที่เป็นนามวลีแรกทําหน้าที่กรรมตรง
น้องทําหน้าที่เป็นนามวลีที่สองทําหน้าที่กรรมรอง
- แม่ให้เงิน ลูก
เงินทําหน้าที่เป็นนามวลีแรกทําหน้าที่กรรมตรง
ลูกทําหน้าที่เป็นนามวลีที่สองทําหน้าที่กรรมรอง
เด็กหัวเราะ , เพื่อนๆ ดีใจ , ฝนตก
เด็กคนนี้ดี, บ้านแถวนี้สวยทุกหลัง , นักกีฬาเหล่านี้ว่องไว
- เขาเป็นครูอยู่ชายแดนมาเป็นสิบปี
- เขาเหมือนพ่อมาก
- สุมนหน้าตาคล้ายแม่
- เขาชอบเป็นหวัด
- คนไข้ฝืนกินยาจนหมด
- วันนี้เด็กพลอยเปียกฝนด้วย
- เขาส่งจดหมายไปเมืองนอก
- เขานั่งลง
- เงยหน้าขึ้นอีกนิด
วันนี้รถติดจัง, น้องนอนแล้ว
ดําปี๋, เหลืองอ๋อย, ยาวเฟื้อย
-
กลางวันถนนสายนี้รถแน่นมาก, คํ่าๆ เราก็ติดต่อเขาได้
-
-
-
-
- ก็เธอไม่ยอมไปกินข้าวกับพวกเราเองนี่นา
- ความรักช่วยสร้างสันติภาพแก่โลก กล่าวคือ เมื่อมนุษย์มอบและแบ่งปันความรักให้แก่กันและกัน ก็จะไม่บังเกิดความริษยา
- เข้ามาซิ
- ไปด้วยกันนะ
- เงินทอนล่ะ
- รถมาแล้วครับ (แสดงความสุภาพ )
- จะไปไหนกันดีวะ (แสดงความไม่สุภาพ )
- วันนี้ลมอะไรหอบมาถึงที่นี่ได้ละยะ (แสดงการประชด)
-
- โถ ! เจ้าเขี้ยวเงินไม่น่าตายเลย - ว้าย ! ช่วยด้วย
- โธ่! ไม่น่าเป็นเช่นนั้นเลย - โอ้โฮ ! แต่งตัวสวยจัง