Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์, (นางสาวยุพาภรณ์ วังสะอาด) - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
Biophysical Assessment
ultrasound
ข้อบ่งชี้ Ultrasound
ด้านทารก
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
หรือคาดคะเนอายุครรภ์
ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนำของทารกในครรภ์
เพื่อตรวจดูการหายใจของทารกในครรภ์ทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
เพื่อตรวจดูจำนวนของทารกในครรภ์
ข้อบ่งชี้ Ultrasound
ด้านมารดา
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดน้ำ / น้ำคร่ำน้อย
ตรวจในรายสงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การตั้งครรภ์ที่มีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
เพื่อดูความผิดปกติ เช่น ก้อนเนื้องอกที่อุ้งเชิงกราน
ตรวจดูตำแหน่งที่เหมาะสมก่อนทำ amniocentesis
แนวทางการตรวจ ultrasound
ดูจำนวนและการมีชีวิตของทารก
ดูลักษณะและตำแหน่งของรก
ปริมาณน้ำคร่ำ
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
การแปลผล Ultrasound
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์ (Gestational Sac : GS) อายุครรภ์ 5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้ เห็นในระยะแรกของการตั้งครรภ์ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ ทั้ง 3 แนวคือ กว้าง ยาว สูง
ความยาวของทารก (Crown-rump lerght : CRL) อายุครรภ์ 7-14 week คือ ความยาวตั้งแต่ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง ซึ่งมีความแม่นยำมาก คลาดเคลื่อนเพียง 3 - 7 วัน
Biparietal diameter : BPD เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะของทารก
นิยมมากที่สุด
อาศัยจุดสัมพัทธ์ คือ เป็นระดับ BPD ที่กว้างที่สุด การคำนวณจะแม่นยำสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์ คำนวณอายุครรภ์โดยประมาณ คือ BPD (ซม.) X 4 สัปดาห์
ความยาวของกระดูกต้นขา (Femur length : FL) วัดจากส่วนหัวกระดูก-ปลายแหลมของปลายกระดูก ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
เส้นรอบท้อง (Abdominal circumference : Ac) ไม่ค่อยนิยม
Fetal Biophysical profile(BPP)
เกณฑ์ปกติ คะแนน = 2 สังเกตนาน 30 นาที
การแปลผล
8-10 คะแนน = ปกติ
ไม่มีภาวะเสี่ยงควรตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
6 คะแนน = มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรัง
ของทารก ควรตรวจซ้ำใน 4-6 ชั่วโมง
4 คะแนน = มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
0-2 คะแนน = มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง ควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
การหายใจของทารกในครรภ์
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ปริมาณน้ำคร่ำ
Radiography
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
โดยใช้รังสี X-ray เป็นการถ่ายภาพ X-ray
• การให้การพยาบาลตั้งครรภ์
ในการเตรียมตรวจ Radiography
อธิบายให้ทราบถึงข้อดีข้อเสียประโยชน์ในการทำและผลกระทบต่อทารกในครรภ์และให้หญิงตั้งครรภ์ตัดสินใจ ในการตรวจพิเศษด้วยตนเอง
ให้เซ็นใบยินยอมในการตรวจพิเศษไว้เป็นหลักฐาน
Amniography
การฉีดสารทึบรังสีเข้าไปในโพรงมดลูก แล้วถ่ายภาพรังสีใช้ในการวินิจฉัยความผิดปกติจากการตั้งครรภ์ เช่น ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกเมื่อฉีดสีเข้าไปจะพบว่าสีจะไปเคลือบรอบ ๆ พวงถุงน้ำเห็นเป็นลักษณะแบบแมลงแทะ (moth-eaten) ในปัจจุบันไม่ค่อยได้ใช้วิธีนี้
Fetoscopy
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์
ขั้นตอนการทำ
งดน้ำงดอาหารก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
ต้องตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
งดการทำงานหนัก1 – 2 สัปดาห์ เนื่องจากอาจมีอาการปวดท้อง
ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทางช่องคลอด ติดเชื้อน้ำคร่ำรั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่กับเลือดลูกปนกัน
Amnioscopy
การใช้กล้องส่องตรวจดูถุงน้ำคร่ำ การตรวจน้ำหล่อเด็กด้วยกล้องตรวจโดยใช้กล้องส่องเข้าไปในถุงน้ำหล่อทารกการส่องตรวจถุงน้ำคร่ำ เพื่อดูความผิดปกติของน้ำคร่ำ
Fetal movement count
การเคลื่อนไหวของทารกจะเปลี่ยนแปลงไปตามอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้นโดยจะเริ่มเคลื่อนไหวเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 7 สัปดาห์เริ่มมี tone ให้เห็นพอช่วง 8-10 สัปดาห์ เริ่มมีการเคลื่อนไหวแบบบิดตัวไปมางอและเหยียดตัว ในไตรมาสที่ 2 มีการพัฒนาของโครงสร้างแขนขาและตัวชัดเจนขึ้น จึงมีการเตะถีบขยับแขนยกไปมาได้ ในไตรมาสที่ 3 จะเริ่มมีวงจรหลับตื่น (Sleep wake cycle)
การรับรู้ลูกดิ้น
ในสตรีครรภ์แรก จะเริ่มรู้สึกตอนอายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ ในขณะที่ครรภ์หลังจะรู้สึกเร็วขึ้น คือประมาณ 16-20 สัปดาห์ ทารกจะเคลื่อนไหวเยอะในช่วงอายุครรภ์ 28-34 สัปดาห์ หลังจากนี้จะค่อย ๆ ลดลง
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten
Modified Cardiff count to ten
Daily fetal movement record (DFMR)
ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้งถือว่าผิดปกติ
ประสิทธิภาพของการนับลูกดิ้น
Fetal acoustic stimulation test (FAST)
วิธีการตรวจ FAST เตรียมการตรวจเหมือน NST
บันทึกรูปแบบการเต้นของหัวใจโดย electronic fetal monitoring นาน 20 - 40 นาที
กระตุ้นด้วยกล่องเสียงเทียม (artificial larynx) โดยวางบนหน้าท้องหรือใกล้หน้าท้องมารดา (ไม่เกิน 30 เซนติเมตร) กระตุ้นครั้งละ
1 – 3 วินาที ซ้ำได้ไม่เกิน 3 ครั้ง
Biophysical profile (BPP)
คะแนนในการแปลผล BBP
4-6 คะแนน ให้พิจารณาตามปริมาณน้ำคร่ำ ถ้าน้ำคร่ำปกติโอกาสเกิด asphyxia น้อย แต่ต้องตรวจ BPP ช้ำใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าน้ำคร่ำน้อย โอกาสเกิด asphyxia สูงขึ้น
0-2 คะแนน ทารกอยู่ในภาวะคับขัน ควรรีบให้คลอดทันที
8-10 คะแนน โดยที่ปริมาณน้ำคร่ำปกติ แปลผล ว่าทารกในครรภ์ยังปกติดี ไม่จำเป็นต้องรีบให้คลอดโอกาสเกิด asphyxia ใน 1 สัปดาห์ น้อยกว่า 1 ใน 1000
Magnetic resonance image (MRI)
การตรวจร่างกายโดยเครื่องตรวจที่ใช้คลื่นสนามแม่เหล็ก
ความเข้มสูง และคลื่นความถี่ในย่านความถี่วิทยุในการสร้างภาพเหมือนจริงของอวัยวะภายในต่างๆของร่างกาย ในทางสูติศาสตร์ไม่นิยมใช้
นางสาวยุพาภรณ์ วังสะอาด
เลขที่ 61 ID 62115301065