Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
subdural hematoma - Coggle Diagram
subdural hematoma
ยา
Cefazolin 2 q stat
ผลข้างเคียง
มีพิษต่อไต พิษต่อระบบประสาท โดยเฉพาะในรายที่ได้รับยาติดต่อกันเป็นเวลานานหรือขนาดสูง ผื่นคัน มีจุดเลือดออก ไข้ หนาวสั่น
-
-
-
Dilantin 500 mg iv stat
ผลข้างเคียง
ตากระตุก เดินเซ มึนงง สับสน ตาพร่า นอนไม่หลับ มือสั่น หงุดหงิด
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
-
-
Paracetamol
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน และง่วงซึม เวียนศีรษะ ท้องผูกในขนาดยาที่สูงอาจกดการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ อาการแพ้ยาและหลอดเลือดตีบ
การพยาบาล
-
- สังเกตและบันทึกการตอบสนองของผู้ป่วย เมื่อได้รับยาในตอนแรกถ้าพบว่ายาที่ผู้ป่วยได้รับไม่เพียงพอที่จะระงับปวดหรือผู้ป่วยกลับมาอาการเจ็บป่วยขึ้นมาใหม่หลังจากได้รับยาเข้าไปในเวลาอันสั้น จะต้องเพิ่มขนาดยาหรือระยะเวลาที่ให้ต้องสั้นลง
3.หากผู้ป่วยไม่มีอาการปวด ไม่ควรให้ยาถึงแม้จะมีคำสั่งการรักษาหรือหากอาการปวดไม่รุนแรนควรใช้ยา Paracetamol ทดแทนเพื่อหลีกเลี่ยงฤทธิ์ข้างเคียงและไม่ให้ผู้ป่วยรับยามากเกินไป
Augmentin
ผลข้างเคียง
อาการท้องร่วงเหลวเป็นน้ำหรือมีเลือดปน ผิวซีดหรือเป็นสีเหลือง อุจจาระสีคล้ำ เป็นไข้ สับสนหรืออ่อนแรง
มีรอยช้ำหรือเลือดออกง่าย ผื่นผิวหนัง เป็นเหน็บอย่างรุนแรง ชา ปวด กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การพยาบาล
-
- ก่อนเริ่มให้ยา dose แรก ควรถามประวัติการแพ้ยาก่อน หากมีประวัติการแพ้ยาให้ เขียนไว้ใน OPD card รายงาน หรือ Kardex ของผู้ป่วยให้ชัดเจน เพื่อระวังในการให้ยา หรือสารต่างๆ เป็นพิเศษ
- ก่อนเริ่มยา Dose แรก ควรปรึกษาแพทย์ผู้รักษา เพื่อเก็บ Specimens ต่างๆ เช่น เลือดปัสสาวะ เสมหะ เป็นต้น ส่งตรวจหาเชื้อก่อน
Nicardipine
-
ผลข้างเคียง
เวียนศีรษะ ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียนและท้องเสีย มีอาการแพ้ เช่น บวมบริเวณ ใบหน้า ปาก ริมฝีปากหรือลิ้น มีผื่นผิวหนัง คัน เป็นลมพิษ แน่นหน้าอก หายใจลำบาก
แผนการจำหน่าย
D Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ อธิบายถึงสาเหตุของโรคที่เป็น
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้เกี่ยวกับอาการและสาเหตุ
ของการเกิดโรคเพื่อจะได้นำไปปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง (Subdural Hemorrhage; SDH) ภาวะที่ก้อนเลือดที่สะสมอยู่ระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นดูรากับเนื้อสมอง สาเหตุเกิดจากการดื่มสุรา ถ้าหากดื่มสุราก็จะมีโอกาสกลับไปเป็นซ้ำได้อีก
M Medicine
แนะนำการใช้ยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่างละเอียด สรรพคุณของยา ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยาด้วยผู้ป่วยได้รับยา
-
T Treatment
-
โดยมาตรวจหลังกลับบ้านเพื่อประเมินผลและตัดไหมตามแพทย์นัดอาการผิดปกติที่ผู้ป่วยต้องสังเกต เช่น มีไข้สูง มีเลือดออกจากแผล
ทุก 5 นาทีหรือปวดศีรษะมากต้องรีบมาพบแพทย์
H Health
การส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆทำความสะอาดร่างกายประจำวันช่วยเช็ดตัวหากผู้ป่วยไม่สามารถถูตัวได้ทั่วถึง เช่น บริเวณแผนหลัง ดูแลความสะอาดเมื่อผู้ป่วยขับถ่าย ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน ทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร ดูแลความสะอาดร่างกายอาจมีข้อจำกัดในการปฏิบัติตัว เช่น ห้ามให้แผลเปียกน้ำห้ามแคะ แกะ เกา
แนะนำการออกกำลังที่เหมาะสมตามสภาพของผู้ป่วย เช่น นั่งแกว่งแขนหรือขาการเดินรอบ ๆบ้าน เพื่อฟื้นกำลังของแขน ขา และแนะนำเรื่องการพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ6-8 ชั่วโมง เพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูได้ดียิ่งขึ้น
O Out patient
การมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน ตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลตอเนื่องเน้นการมาตรวจตามนัดภายหลงกลับบ้านอาการผิดปกตตองรีบมาพบแพทย์ก่อนวันนัด เช่น มีไข้สูงมีเลือดสดๆ ออกจากแผลเย็บ หรือปวดศีรษะมาก
D Diet
แนะนำการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ เพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ไข่ นม ผักและผลไม้แนะนำให้ ผู้ป่วยงดดื่มสุรา หรือของมึนเมาทุกชนิดและ แนะนำการรับประทานอาหารที่อาจส่งผลต่อโรคGout ที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
-
2.ควรจํากัดอาหารที่มีไขมันสูง เพราะอาจกระตุ้นให้อาการกำเริบได้ควรงดเครื่องดื่มพวกโกโก้ ช็อคโกแลต ควรทาน นมพร่องมันเนย
3.หลีกเลี่ยงการรับประทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะเบียร์ที่จะเพิ่มระดับกรดยูริกได้มากรวมถึงวิสกี้ และไวน์
-
-
การพยาบาล
-
- เสี่ยงต่อภาวะความดันในกะโหลกศรีษะเพิ่มขึ้น
เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
1.จดบันทึกสัญญาณชีพและประเมินอาการทางระบบประสาท
ทุก 15 นาที30 นาที และ 1 ชั่งโมง
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและยาทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา บันทึกการเข้าการออกของสารน้ำ ป้องกันน้ำเกิน
.3.จัดท่าให้ผู้ป่วยหงายคอไม่พับ ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งให้ผู้ป่วย
ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ จัดท่านอนศีรษะสูง 15 - 30 องศา
เพื่อช่วยให้เลือดแดงไปเลี้ยงสมองได้ดี และช่วยให้เลือดดำจากศรีษะไหลกลับสู่หัวใจได้ดี ป้องกันการดั่งของเลือดในสมอง
4.สังเกตสีผิว ริมฝีปากเล็บมือ เล็บเท้าของผู้ป่วย ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งเมื่อเสร็จกิจกรรมพยาบาล ระวังไม่ให้ศีรษะถูกกระแทก
5.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ลดกิจกรรมการพยาบาลที่จะเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ เช่น ไม่ผูกยึดผู้ป่วยติดกับเตียงโดยไม่จำเป็นกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอหรืออาเจียน งดน้ำ อาหาร และยาทางปากเพื่อป้องกันการสำลักและอาเจียน ซึ่งจะทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
- เสี่ยงต่อการพร่องสารน้ำและเลือด
- ดูแลและควบคุมสัญญาณชีพตลอดจนวิสัญญีแพทย์จะใส่สายทางหลอดเลือดดำ (Central line) เพื่อประเมินการให้สารน้ำตลอดเวลา
- ใส่สายสวนปัสสาวะเพื่อประเมินให้สารน้ำ
และประเมินระบบขับถ่ายปัสสาวะ
- เจาะหาค่าเม็ดเลือดในเลือด (Hct) ทุก 1 ชม. รวมทั้งเจาะภาวะความเป็นกรด-ด่าง (Blood gass analysis) สายสวนหลอดเลือดแดง (Arterial line) ที่แพทย์วิสัญญี่ใส่ไว้เพื่อควบคุมสัญญาณชีพตลอดเวลาที่ให้ยาระงับความรู้สึก
- บันทึกการสูญเสียเลือดประมาณ 500 ซีซี วิสัญญี่แพทย์ประเมินแล้วให้สารน้ำ 1200 ซี
- ประเมินอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
- ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ วันละ 2,000-3,000 ซีซี (8-12 แก้ว) เพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกายทางปัสสาวะและป้องกันภาวะน้ำ
- เช็ดตัวลดไข้ไม่เปิดเครื่องปรับอากาศหรือพัดลมขณะเช็ดตัวเพื่อ ป้องกันอาการหนาวสั่นถ้าผู้ป่วยมีอาการหนาวสั่นควรให้ความอบอุ่น (keep warm) ก่อนเมื่อหายจากอาการหนาวสั่นแล้วจึงเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่น
- วาง lce bag หรือผ้าเย็นที่หน้าผากเพื่อช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกาย
- ดูแลสุขวิทยาโดยทั่วไปเช่นผิวหนังปากฟันให้สะอาดเนื่องจากการมีไข้จะทำให้มีเหงื่อและกลิ่นปาก
- จัดสิ่งแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกสวมเสื้อผ้าตามสภาพอากาศ
- ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดขึ้นขณะผ่าตัดและหลังผ่าตัด
1.สร้างสัมพันธภาพกับญาติผู้ป่วยด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เพื่อให้ญาติรู้สึกอบอุ่น และคลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการบาดเจ็บของผู้ป่วย
2.อธิบายเกี่ยวกับอาการของโรคที่ป่วยประสบอยู่และวิธีการรักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยได้รับขณะที่ผู้ป่วยอยู่ที่หอผู้ป่วย
3.เปิดโอกาสให้ญาติของผู้ป่วยได้ซักถามเกี่ยวกับอาการบาดเจ็บของผู้ป่วยและระบายความรู้สึก บอกให้ญาติของผู้ป่วยทราบเป็นระยะเกี่ยวกับอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ขั้นตอน และแผนการรักษาพยาบาลต่างๆ ที่ผู้ป่วยได้รับ และให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
4.แจ้งให้ญาติทราบว่าผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์ และพยาบาลตลอดจนเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ขณะที่ผู้ป่วยรับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้ญาติเกิดความมั่นใจ และคลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการบาคเจ็บของผู้ป่วย
-
การรักษา
การผ่าตัด
craniectomy
คือ การผ่าตัดกะโหลกศีรษะ ซึ่งคือขั้นตอนการผ่าตัดทางการแพทย์ที่ผ่าตัดเพื่อเปิดกะโหลกศีรษะโดยที่ขนาดกระดูกกะโหลกศีรษะจะถูกตัดออกขึ้นอยู่กับความต้องการการเข้าถึงสมองของแพทย์ craniotomy เป็นขั้นตอนการผ่าตัดที่อาจใช้รักษาเช่น เนื้องอกในสมอง ลิ้มเลือด การเอาวัตถุแปลกปลอมเช่นกระสุนปืนออกจากสมองเป็นต้น และขั้นตอนจะจบลงด้วยการปิดรูกะโหลกศีรษะด้วยส่วนของกระดูกที่ถูกผ่าออกไปด้วยการยึดกับแผ่นโลหะกับสกรู ถ้าการผ่าตัดไม่จบลงด้วยปิดกะโหลกศีรษะ จะเรียกว่า craniotomy
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
- การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติโดยการสร้างสัมพันธภาพให้ข้อมูลเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค ข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัด อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบเพื่อลดความวิตกกังวลให้และเซ็นและให้ญาติเซ็นต์ใบยินยอมรับการผ่าตัด เพื่อป้องกันการฟ้องร้องที่จะเกิดขึ้นภายหลังได้
- การเตรียมร่างกาย เตรียมบริเวณผ่าตัด และทําความสะอาดบริเวณที่จะผ่าตัด เพื่อป้องกันการติดเชื้องดอาหาร
3.งดอาหารและน้้ำทางปากให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
4.การเตรียมเลือด ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจทางรังสีประเมินผู้ป่วยตามแบบประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆให้พร้อมทันทีที่ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อค
5.การเตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ใกล้ที่ทํางานพยาบาลเตียงผู้ป่วยควรจะเป็นเตียงที่ไม่มีที่กั้นหัวเตียง ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการให้การพยาบาล เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ให้พร้อม
การพยาบาลหลังผ่าตัด
2.ประเมินสภาพผู้ป่วย อาการและอาการแสดงทางระบบประสาท ตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง ให้ข้อมูลแก่ครอบครัวเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
1.ประเมิน vital signs ทุก 15 นาที 4ครั้ง ทุก 30 นาที นาน 2 ครั้ง จากนั้นวัดทุก 1 ชั่วโมงจนกว่า vital signsจะคงที่ แล้ววัดทุก 4 ชั่วโมง
3.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา โดยให้คออยู่ในแนวตรง ไม่บิด ซึ่งจะช่วยป้องกันการอุดตันของjugular vein ส่งผลให้เลือดดำไหลกลับหัวใจได้ดีขึ้นเพิ่มการหายใจเพื่อลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด(hyperventilation)
- ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
5.เฝ้าระวังอาการเละอาการแสดงของการเลี่ยนแปลงความดันในกะโหลกศีรษะ การไหลเวียนของน้ำไขสันหลังการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง รวมถึงภาวะสมองบวมช้ำหรือการมีน้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง โดยประเมินจากอาการและอาการแสดง ค่าความดันกำซาบเนื้อเยื่อสมองหรือจาก ICP monitoring
- ดูแลด้านโภชนาการให้เหมาะสม โดยปรึกษาโภชนากรรเพื่อกำหนดอาหาร และดูแลให้ได้รับสารอาหารตามแผนการรักษาอย่างเพียงพอ เพื่อรักษาภาวะโภชนาการให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ การเริ่มให้สารอาหารโดยเร็วกายใน 5 วันแรก จะช่วยลดอัตราการติดเชื้อและภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ควรระวังการให้สารอาหารมากเกินความต้องการ รวมถึงการป้องกันภาวะขาดสารอาหาร นอกจากนี้ควรดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ ลดการใช้พลังงาน
- อธิบายผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น และให้ครอบครัวร่วมเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงทางระบบประสาทที่ผิดปกติเช่น มีไข้ เหงื่อออกมาก กระสับกระส่าย กระวนกระวายหัวใจ
- อธิบายผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการเฝ้าระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหลังได้รับการผ่าตัด โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการออกแบบการดูแล เพื่อป้องกันอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัดตกแต่งเพื่อปิดกะโหลกศีรษะ(cranioplasty) ซึ่งจะทำในช่วงหลังได้รับบาดเจ็บ 2-6 เดือน
8.ป้องกันการเกิดภาวะหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน (deep vein thrombosis) โดยเฉพาะผู้ที่ใส่ท่อช่วยหายใจ โดยประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน ซึ่งภาวะนี้สามารถป้องกันได้โดยการช่วยออกกำลังกายบนเตียง และดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังผลข้างเคียงจากการให้ยา โดยติดตามประเมินความเสี่ยงซ้ำภายใน 24 ชั่วโมง
9.ประเมินความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการเจ็บป่วย ความต้องการการช่วยเหลือในด้านต่างๆ และดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการ หรือจัดหาข้อมูลที่จำเป็นในการสนับสนุนให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการช่วยเหลือตามความเหมาะสมทั้งนี้ต้องมีการเตรียมความพร้อมสำหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมองในระยะนี้ด้วย
-
การตรวทางห้องปฏิบัตการ
CBC, BUN ,Elyte ,LFT, Anti-HIV
-
-
subdural hematoma hematoma
ความหมาย
คือ ก้อนเลือดที่สะสมอยู่ระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้น dura กับเนื้อสมอง ซึ่งพบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
พยาธิ
การมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้น Dura เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือด bridgingvein และ artery บน cortex ระยะแรก ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ เพราะเป็นช่วงที่ผู้ป่วยสามารถ compensate ได้ ทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะอยู่ในเกณฑ์ปกติได้โดยการลด CSF ลงลดเลือดไหลเข้าสมอง ต่อมาเมื่อ compensatory mechanism ใช้หมดจะเกิดมีอาการเคลื่อนที่ (Herniation) ของสมอง จากซีกที่มีความดันสูง คือ ซีกที่มีก้อนกดอยู่ ไปยังบริเวณที่มีความดันต่ำกว่า จนในที่สุด brain stem ถูกกด ผู้ป่วยจึงไม่รู้ตัวหมดสติ
-
สาเหตุ
ผู้ป่วยดื่มสุราวันละ 2 ขวดต่อวัน
อาการแและอาการแสดง
ผู้ป่วยมีอาการพูดช้า ตอบสนอง เวียนศรีษะ
ข้อมูลผู้ป่วย
-
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ผู้ป่วยชายอายุ 47 ปี ไปคลินิกมีเรื่อง เวียนศีรษะ อาเจียน พูดช้า เดินช้า ไม่มีปากเบี้ยว 4day ก่อนผู้ป่วยทำ MRI brin A large subdural hematoma at lt cerebral 15.8 x 2 x 2.2 cm