Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองภาวะเสี่ยง, นางสาวมุทิตา แสงเรือง เลขที่ 60…
การคัดกรองภาวะเสี่ยง
แนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง
4.อ้วน หรือ BMI > 29 kg/m2
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ควรขึ้น 5-9 กก.
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ถ้า ≥ 140 mg. ให้ส่งพบแพทย์เพื่อทำ OGTT
ถ้า ≤ 140 mg. ให้ตรวจซ้ำที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
แนะนำควบคุมอาหาร
6.เคยมีทารกตายในครรภ์
ซักประวัติเพิ่มถึงสาเหตุการเสียชีวิตของทารกอายุครรภ์ที่เสีย
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ส่งพบแพทย์ทันที เพื่อวางแผนการฝากครรภ์
2.อายุ ≥ 35 ปี นับถึง (EDC)
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ขนาดของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายึครรภ์หรือจำ LMP ไม่ได้ให้ส่งพบเเพทย์ทันที
เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูง
ควรส่งพบแพทย์ก่อนอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
3.น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ < 45 kg หรือ BMI < 19.8 kg/m2
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ หาก size < date ให้ส่งพบแพทย์ทันที
ให้ MTV เสริมในทุกราย
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ควรขึ้น 12.5-18 กก. หากน้ำหนักไม่ขึ้นตามเป้าหมายให้ส่งพบแพทย์
1.อายุ < 17 ปี นับถึง (EDC) มีความเสี่ยงดังนี้
ภาวะโลหิตจาง
ความดันโลหิตสูง
ดูแลองคค์รวมด้านสภาพจิตใจ สังคมและครอบครัว
คลอดก่อนกำหนด ควรสอนหรือสังเกตอาการเจ็บครรภ์คลอด ตั้งแต่อายุครรภ์ 27 สัปดาห์
คัดกรง 8Q ,9Q หรือพบนักจิตวิทยาทุกราย โดยให้เจ้าหน้าที่ตัดกรองทุกครั้งที่มา
5.เลือดออกทางช่องคลอด
ส่งพบแพทย์ทันที เพื่อหาสาเหตุ
7.เคยคลอดบุตรน้ำหนัก< 2,500 g.
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ขนาดของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายึครรภ์หรือจำ LMP ไม่ได้ให้ส่งพบเเพทย์ทันที
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ถ้า ≥ 140 mg. ให้ส่งพบแพทย์เพื่อทำ OGTT
ถ้า ≤ 140 mg. ให้ตรวจซ้ำที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
ส่งพบแพทย์เพื่อวางแผนการคลอดเมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์
9.เคยมีประวัติความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์หรือครรภ์เป็นพิษ
ตรวจปัสสาวะดูโปรตีนและน้ำตาลทุกครั้ง หากพบ Albumin 1+ ขึ้นไป ส่งพบแพทย์ทันที
วัดความดันโลหิตทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ หาก ≥ 130/80 mmHg.ให้นั่งพักแล้ววัดซ้ำ หากยัง ≥ 130/80 mmHg.เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ โดยวัดความดันโลหิตทุกวัน ถ้า≥ 140/90mmHg.ให้ส่งพบแพทย์ทันที
ส่งพบแพทย์ทันทีเมื่ออายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์ และ 30 สัปดาห์ เพื่อ Ultrasound
8.เคยคลอดบุตร
น้ำหนัก> 4,000 g.
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ หาก size < date ให้ส่งพบแพทย์ทันที
ตรวจ GCT ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ถ้า ≥ 140 mg. ให้ส่งพบแพทย์เพื่อทำ OGTT
ถ้า ≤ 140 mg. ให้ตรวจซ้ำที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
ส่งพบแพทย์เพื่อวางแผนการคลอดเมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์
10.เคยผ่าตัดตลอดบุตรหรือผ่าตัดอวัยวะในระบบสืมพันธ์ุ เช่น เนื้องอกมดลูก รังไข่
กรณีมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์ให้ฝากครรภ์ตามปกติ เเละส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์ เพื่อ Ultrasound
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ขนาดของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือจำ LMP ไม่ได้ให้ส่งพบเเพทย์ทันที
ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ เพื่อนัดคิวผ่าตัด
11.การใช้สารเสพติด
ติดยาเสพติด ติดสุรา ติดบุหรี่
แนะนำให้เลิกหรือลดสารเสพติดที่ใช้อยู่ หากหญืงตั้งครรภ์มีความประสงค์จะเลิกสารเสพติดให้ส่งต่อ รพ.ธัญญารักษ์
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ประเมินขนาดมดลูกกับอายุครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ หาก size < date ให้ส่งพบแพทย์ทันที
ขนาดของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือจำ LMP ไม่ได้ให้ส่งพบเเพทย์ทันที
กรณีมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์ให้ฝากครรภ์ตามปกติ เเละส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์ และ 30 สัปดาห์เพื่อ Ultrasound
ให้ MTV เสริมในทุกราย
12.ค่า Hb เมื่อฝากครรภ์ครั้งแรกต่ำ (ไตรมาสแรก<11g/dl, ไตรมาสที่ 2<10.5g/dl, ไตรมาสที่ 3 < 11g/dl)หรือ Hct < 30%
ถ้าผล Hb > 10.109 g/dl ให้ฝากครรภ์ตามปกติแต่ให้เสริมยา Ferrous fumarate 1x2 oral pc
ถ้าผล Hb < 10 g/dl ให้ส่งพบแพทย์ทันที
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ซักประวัติโรคโลหิตจาง เพื่อหาสาเหตุ
ควรคลอดที่โรงพยาบาล เนื่องจากมีความเสี่ยงตกเลือดหลังคลอด
หากเจาะเลือดครั้งที่ 2 ยังพบว่ามี Anemia (Hct<33%) ให้ส่งพบแพทย์ทันที
13.โรคอายุรกรรมอื่นๆ เช่น ไทรอยด์ SLE ฯลฯ
โรคความดันโลหิตสูง ให้หยุดยาที่รับประทานทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
ส่งพบแพทย์ทันที และฝากครรภ์ที่ รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
14.ป่วยทางจิต
ส่งพบจิตแพทย์ทุกราย
15.โรคเบาหวาน
ฝากครรภ์ที่ รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
หยุดยาเบาหวานที่รับประทาน ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม โดยแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ NPO มาในวันที่่มาพบแพทย์ เพื่อเจาะ FBS และ 2 hr PPD
16.ความดันโลหิต Diastolic ≥ 90 mmHg.
ตรวจปัสสาวะดูโปรตีนและน้ำตาลทุกครั้ง หากพบ Albumin 1+ ขึ้นไป ส่งพบแพทย์ทันที
เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์หรือครรภ์เป็นพิษ โดยวัดความดันโลหิตทุกวันถ้า ≥ 140/90 mmHg. ให้ส่งพบแพทย์ทันที
17.มีก่อนในอุ้งเชิงกราน
ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม เพื่อตรวจ Ultrasound และวางแผนการฝากครรภ์
18.เคยแท้ง ≥ 3 ครั้งติดต่อกัน
ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม
19.เคยผ่าตัดปากมดลูก
ประเมินความยาวปากมดลูก หรือทันทีที่พร้อมหากมาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 14 สัปดาห์
ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์ เพื่อ Ultrasound
20.ประวัติการคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ถ้ามีประวัติคลอดที่อายุครรภ์ 14-17 สัปดาห์ในครรภ์ก่อน ให้ส่งพบแพทย์เมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์ เพื่อ Ultrasound
ประเมินความยาวปากมดลูกและให้ยาป้องกันการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์นี้
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ถ้ามีประวัติคลอดที่อายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์ในครรภ์ก่อน ให้ส่งพบแพทย์ที่อายุครรภ์ 16 สัปดาห์ เพื่อ Ultrasound
ซักประวัติอายุครรภ์ที่คลอดในครรภ์ก่อน
21.Rh negative
เจาะเลือดสามีเพื่อตรวจหมู่เลือด Rh แล้วนำผลไปพบแพทย์พร้อมภรรยา หรือให้สามีมาเจาะเลือดที่ รพ. พร้อมภรรยา
ต้องมาคลอดที่ รพ.เท่านั้น
ส่งพบแพทย์ทันทีที่ทราบผลเลือดหรือก่อนอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ เพื่อวางแผนการรับยา Rh-immunoglobulin
22.โรคหัวใจ
ส่งพบแพทย์ทันที เพื่อประเมินความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจและพิจารณายุติการตั้งครรภ์ในรายที่มีความเสี่ยงมาก
หากตั้งครรภ์ต่อได้ให้ฝากครรภ์ที่ รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
23.โรคไต
ส่งพบแพทย์ทันที และฝากครรภ์ที่ รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
24.ครรภ์แฝด
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนจากประวัติ LMP และตรวจร่างกาย
ขนาดของมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือจำ LMP ไม่ได้ให้ส่งพบเเพทย์ทันที
ครรภ์แฝดต้องฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลที่มีสูติแพทย์เท่านั้น
แนวทางการจัดการภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์
Risk 2: สีส้ม: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงปานกลาง ส่งมาดูแลต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย/ รพช.
ป่วยทางจิต
ความดันโลหิต Diastolic ≥ 90 mmHg
ภาวะโลหิตจางจาง (ธาลัสซีเมีย มีภาวะซีดมากต้องเติมเลือด), ไทรอยด์, SLE, ติดเชื้อ HIV
โรคเบาหวาน (DM/ GDM )
เคยแท้ง ≥ 3 ครั้งติดต่อกัน ในช่วงไตรมาสที่ 2
เคยผ่าตัดปากมดลูก
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
Risk 3: สีแดง: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง ต้องส่งดูแลต่อที่โรงพยาบาลศูนย์/ รพ.ที่มีแพทย์เฉพาะทาง
โรคไต
ครรภ์แฝด
โรคหัวใจ
Risk 1: สีเหลือง: หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงน้อย สามารถดูแลที่โรงพยาบาลต้นสังกัด/ รพ.สต.ได้
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ < 45 kg หรือ BMI < 19.8 kg/m2
อ้วน หรือ BMI > 29 kg/m2
อายุ < 17 ปี หรืออายุ ≥ 35 ปี
เลือดออกทางช่องคลอด
เคยคลอดบุตรน้ำหนัก< 2,500 g. น้ำหนัก > 4,000 g.
เคยเข้ารับการรักษาเพราะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ หรือครรภ์เป็นพิษ
ตั้งครรภ์ ≥ 3 ครั้ง
ปกติ: สีเขียว: หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความเสี่ยงใดๆ
นางสาวมุทิตา แสงเรือง เลขที่ 60 รหัสประจำตัวนักศึกษา 621801064 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3