Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำเนินการธุรกิจแฟรนไชส์ - Coggle Diagram
การกำเนินการธุรกิจแฟรนไชส์
การขายระบบงานที่ประสบความสำเร็จ โดยเจ้าของระบบงานนั้น เรียกว่า เจ้าของสิทธิ ตกลง อนุญาตให้ ผู้รับสิทธิ
ดำเนินธุรกิจภายใต้ชื่อการค้า การบริหาร และระบบธุรกิจตามรูปแบบและระบบธุรกิจของเจ้าสิทธิและจ่ายค่าตอบแทนแก่เจ้าของสิทธิ
ผู้รับสิทธิ์
แฟรนไชส์ซี่จะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในการใช้ชื่อการค้าเป็นค่าธรรมเนียมก่อนเริ่มกิจการ
แฟรนไชส์ซี่
จะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมเป็นเปอร์เซ็นต์ของยอดขายหรือจ่ายค่าธรรมเนียมเป็นเงินงวดรายเดือนหรือรายปี เรียกว่า "ค่ารอยัลดี้" (Royalty Fee) ตามแต่แฟรนไชส์เซอร์จะกำหนด
เจ้าของสิทธิ์
แฟรนไชส์เซอร์ หรือเจ้าของระบบธุรกิจถ่ายทอดความรู้ในการทำธุรกิจทุกอย่างให้แก่ผู้รับสิทธิและคูแลอย่างใกล้ชิด
ประเภทของกิจการแฟรนไชส์
แฟรนไชส์ประเภทร้านอาหาร
แฟรนไชส์กลุ่มธุรกิจสื่อสารและคอมพิวเตอร์
แฟรนไชส์กลุ่มธุรกิจบริการและบันเทิง
แฟรนไชส์กลุ่มอุตสาหกรรมค้าปลีก
แฟรนไชส์กลุ่มธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
แฟรนไชส์กลุ่มการศึกษา
สิ่งที่ต้องคำนึงก่อนซื้อแฟรนไชส์
ความคุ้มค่าในการลงทุน (Return on Investment)
ความถนัดของเราเอง (Our Competency)
นโยบายการสนับสนุน (Supporting Policy)
การร่วมลงทุนในลักษณะต่างๆของธุรกิจแฟรนไชส์
ธุรกิจแฟรนไชส์ขนาดกลาง
ธุรกิจที่ต้องมีการลงทุนด้วยเงินลงทุนประมาณ 100,000-1,000,000 บาท เช่น ธุรกิจร้านไอศกรีมบาสกิ้นรอบบิ้น,โรงเรียนจินตภายา-คณิต เป็นต้น
ธุรกิจแฟรนไชส์ขนาดใหญ่
การร่วมลงทุนในลักษณะต่างๆของธุรกิจแฟรนไชส์ ธุรกิจที่ต้องมีการลงทุนด้วยเงินลงทุนที่จำนวนมาก โดยส่วนใหญ่จะมากกว่า 1,000,000 บาทขึ้นไป ได้แก่ธุรกิจเครือข่าย ธุรกิจแฟรนไชส์ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่ เช่น ร้านสะควกซื้อ 7-eleven ร้านอาหาร Black canyon ร้านเช่าวีดิโอ TSUTAYA เป็นต้น
ธุรกิจแฟรนไชส์ขนาดเล็ก
ธุรกิจที่มีการลงทุนประมาณ 10,000 -100,000 บาท เช่นก๋วยเตี๋ยวลูกขึ้นนายฮั่งเพ้ง ไก่ย่างห้าดาว เป็นต้นโดยผู้ขายแฟรนไชส์จะจัดส่งสินค้าและสิ่งที่สำคัญให้นักลงทุน แต่ไม่ได้ช่วยลงไปในส่วนปลีกย่อยมากนัก ให้นักลงทุนมีส่วนในการตัดสินใจในบางเรื่อง