Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ ระคลอดที่มีความเสี่ยง,…
แนวทางการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์
ระคลอดที่มีความเสี่ยง
ประเมินเบื้องต้นแรกรับ
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด (รพช)
ซักประวัติทั่วไปประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตปัจจุ บันโรคประจำตัวอาการผิดปกติร่วมด้วย
ตรวจดูรายงานการฝากครรภ์อย่างละเอียดเพื่อ
คะเนอายุครรภ์ตลอดจนค้นหาความผิดปกติและโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในครรภ์ปัจจุบัน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
ความสูงต่ำ 145 ซม
มีภาวะซีดตัวเหลืองตาเหลือง
มีไข้
ความดันโลหิตสูง SBP 2 140 DBP> 90 mmHg
ต่อมไทรอยด์โต
เสียงปอดและเสียงหัวใจผิดปกติ
ความสูงของยอดมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือน้อยกว่า 30 เซนติเมตร
ประเมินอายุครรภ์ไม่ได้
ทารกมีขนาดใหญ่ (ยอดมดลูกสูง >/= 38 เซนติเมตรหรือประเมินว่าทารกมีน้ำหนัก >/= 4,000 กรัม)
ส่วนน้ำไม่ใช่ศีรษะ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ
อายุครรภ์ <37 สัปดาห์หรือ> 42 สัปดาห์
multiple pregnancy
มีภาวะน้ำเดิน
รพ. แม่ข่ายพิจารณา refer รพ ศ
คลังเลือดไม่พร้อม
ไม่มี Anti Rh Immunoglobulin
Severe preeclampsia ที่มี HELLP syndrome
Preterm labour V GA <34 สัปดาห์และไม่มีกุมารแพทย์
กรณีอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ผู้ดูแล
พิจารณา refer รพ แม่ข่าย
Hct </= 30% หรือ Hb </= 10 gm / dl
platelet <100,000 per ex.mm
Rh negative
ความดันโลหิตสูง SBP >/= 160P >/= 110 mmHg
เสียงปอดและเสียงหัวใจผิดปกติ
ทารกมีขนาดใหญ่ (ยอดมดลูกสูง 2 38 เซนติเมตรหรือประเมินว่าทารกมีน้ำหนัก >/= 4,000 กรัม)
ส่วนน้ำไม่ใช่ศีรษะ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ
Fetal tachycardia
Fetal bradycardia-late deceleration
minimal variability
variable deceleration
อายุครรภ์ <34 สัปดาห์หรือ> 42 สัปดาห์
multiple pregnancy
ระยะที่ 3 ของการคลอด
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด (รพช)
บันทึกการหายใจชีพจรและความดันโลหิตของผู้คลอดทุก 15 นาทีการหดรัดตัวของมดลูกปริมาณเลือดที่ออกเวลาที่รกคลอด
ตลอดจนการรักษาที่ได้รับในบันทึกการคลอด
ให้การดูแลแบบ Active management of third stage of labor (AMTSL)
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
ตกเลือดหลังคลอดมากผิดปกติ
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 15 หรือชีพจร มากกว่า/เท่ากับ 110 ครั้งต่อนาทีความดันโลหิต น้อยกว่า/เท่ากับ 90/60 mmHg
รกไม่คลอดภายใน 30 นาที
แผล Episiotomy ลึกและกว้างมาก
รพ แม่ข่ายพิจารณา refer รพ ศ
ล้วงรกไม่สำเร็จ
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขมี
ภาวะตกเลือดภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถผ่าตัด Hysterectomy ได้
ไม่มีเลือดสำรอง
พิจารณา refer รพ แม่ข่าย
ล้วงรกไม่สำเร็จ
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขมีภาวะตกเลือดภาวะ hypovolemic shock ได้
กรณีรกไม่ลอกตัวและไม่มี active bleeding
ระยะที่ 4 ของการคลอด (หลังจากคลอด 2 ชั่วโมง)
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด (รพช)
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพของมารดาหลังคลอดการหดรัดตัวของมดลูกแผลฝีเย็บ full bladder และปริมาณเลือดที่ออกทุก 15 นาที 4 ครั้งหรือจนกว่าจะปกติถ้าปกติให้ตรวจสัญญาณชีพการหดรัดตัวของมดลูกแผลฝีเย็บ full bladder และปริมาณเลือดที่ออกทุก 30 นาทีอีก 2 ครั้ง
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
ตกเลือดหลังคลอดมากกว่าปกติ
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 15 หรือชีพจร> 110 ครั้งต่อนาทีความดันโลหิต <90/60 mmHg
พิจารณา refer รพ แม่ข่าย
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขมีภาวะตกเลือดได้
ไม่สามารถแก้ไขภาวะภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถ curettage ได้ในขณะนั้น
รพ. แม่ข่ายพิจารณา refer รพ ศ
ไม่สามารถควบคุมแก้ไขมีภาวะตก
เลือดภาวะ hypovolemic shock ได้
ไม่สามารถผ่าตัด Hysterectomy ได้
ไม่มีเลือดสำรอง
ระยะที่ 1 ของการคลอด
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด (รพช)
ระยะที่เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 3 ซม และบางตัว 100% หรือเปิด 4 ซม. บางตัว 80% (latent phase)
1.1 บันทึกสัญญาณชีพของหญิงตั้งครรภ์
1.2 บันทึกเสียงหัวใจทารกและการหดรัดตัวของมดลูก pain score ทุก 1-2 ชั่วโมง
1.3 ตรวจภายในเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 4 ชั่วโมง
1.4 บันทึกข้อมูลทั้งหมดตลอดจนการรักษาที่ได้รับเป็น partograph
ระยะที่ปากมดลูกเปิด 3 ซม. และบางตัว 100% หรือเปิด 4 ซม. บางตัว 80% จนปากมดลูกเปิดหมด (Active phase)
2.1 บันทึกสัญญาณชีพของหญิงตั้งครรภ์ทุก 4 ชั่วโมงหรือในกรณีที่มีการแตกของถุงน้ำคร่ำนานกว่า 18 ชั่วโมง ให้วัดอุณหภูมิร่างกายทุก 1 ชั่วโมง
2.2 บันทึกเสียงหัวใจทารกและการหดรัดตัวของมดลูก pain score ทุก 30 นาที
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
เลือดออกทางช่องคลอด
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
สายสะดือย้อยหลังน้ำเดิน
มี Thick meconium
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ
น้ำคร่ำเดินมากกว่า 18 ชม
partograph ผิดปกติ
พิจารณา refer รพ แม่ข่าย
ความดันโลหิตสูง SBPมากกว่า/เท่ากับ 160 DBPมากกว่า/เท่ากับ110 mmHg.
มีภาวะรกเกาะต่ำ
เลือดออกทางช่องคลอดไม่ทราบสาเหตุ
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
สายสะดือย้อยหลังน้ำเดิน
มี Thick meconium ในขณะที่มดลูกเปิดน้อยกว่า 5 ซม
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ-Fetal tachycardia
Fetal bradycardia
late deceleration
minimal variability
variable deceleration
พิจารณาส่งต่อเมื่อ partograph ผ่าน alert line ภายหลังให้การดูแลตามมาตรฐานดังนี้
รพ. ที่อยู่ห่าง รพ แม่ข่าย 4 ชม ให้ refer เมื่อ Partograph แตะ alert line
รพ. ที่อยู่ห่าง รพ แม่ข่าย 3 ชม ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 1 ซม
รพ. ที่อยู่ห่าง รพ แม่ข่าย 2 ชม ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 2 ชม
รพ. ที่อยู่ห่าง รพ แม่ข่าย 1 ชม ให้ refer เมื่อ Partograph ผ่าน alert line 3 ชม
รพ แม่ข่ายพิจารณา refer รพ ศ
ไม่สามารถผ่าตัด C/S ได้ในขณะนั้น
Preterm labour ที่ GA <34 สัปดาห์และไม่มีกุมารแพทย์
ไม่มีเลือดสำรองทุกกรณี
Hct น้อยกว่า/เท่ากับ 30% หรือ Hb น้อยกว่า/เท่ากับ10 gm / d
มี Antepatum hemorrhage
ระยะที่ 2 ของการคลอด
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด (รพช)
บันทึกชีพจรอัตราการหายใจและความดันโลหิตสูงทุก 30 นาทีการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 15 นาทีความก้าวหน้าของการคลอด (ตรวจภายใน) ทุก 1 ชั่วโมงตลอดจนการรักษาที่ได้รับใน patograph
จดบันทึกรายละเอียดขณะคลอดในใบบันทึกการคลอด
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
มารดาเบ่งคลอดนานกว่า 50 นาทีในครรภ์และ 30 นาทีในครรภ์หลัง
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ
พิจารณา refer รพ แม่ข่าย
มารดาเบ่งคลอดนานกว่า 50 นาทีและเงื่อนไขไม่เหมาะสมในการ V/E
Failed V/E (ดึงไม่ลง cup slip 1 ครั้ง)
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ ได้แก่
Fetal tachycardia
Fetal bradycardia
late deceleration-minimal variability
variable deceleration
รพ. แม่ข่ายพิจารณา refer รพ ศ
ไม่สามารถผ่าตัด CS ได้ในขณะนั้น
Preterm labor ที่ GA <34 สัปดาห์และไม่มีกุมารแพทย์
ไม่มีเลือดสำรองทุกกรณี
Hct <30% หรือ Hb <10 gm / dl
มี Antepartum hemorrhage
นางสาวยุพาภรณ์ วังสะอาด เลขที่ 61 ID 62115301065