Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ, นางสาว อพันตรี ลินคำ เลขที่ 93 - Coggle…
การคัดกรองความเสี่ยงและการส่งต่อ
แนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง
โรคอายุรกรรมอื่นๆ เช่น ไทรอยด์ SLE ฯลฯ
ส่งพบแพทย์ทันที และฝากครรภ์ที่รพ.ตลอดการตั้งครรภ์โรคความดันโลหิตสูง ให้หยุดยาที่รับประทานทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
ป่วยทางจิต
ส่งพบจิตแพทย์ทุกราย
โรคเบาหวาน
หยุดยาเบาหวานที่รับประทาน ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม โดยแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ NPO มาในวันที่มาพบแพทย์ เพื่อเจาะ FBS และ 2 hr
ความดันโลหิด Diastolic มากกว่า90 mmHg เฝ้าระวังภาระความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์หรือครรภ์เป็นพิษ
มีก้อนในอุ้งเชิงกราน
ส่งพบแพทย์ทีนทีที่พร้อม เพื่อตรวจ ultasound และวางแผนการฝากครรภ์
เคยแท้งมากกว่า3 ครั้งติดต่อกับ
ส่งพบแพทย์ทันทีที่พร้อม
เคยผ่าตัดปากมดลูก
ประวัติการคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
Rh negative
ส่งพบแพทย์ทันทีที่ทราบผลเลือดหรือก่อนอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ เพื่อวางแผนการรับยา Rh immunoglobulin
โรคหัวใจ
ส่งพบแพทย์ทันที เพื่อประเมินความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจและการพิจารณายุติการ
ตั้งครรภ์ในรายที่มีความเสี่ยงมาก
โรคไต
ส่งพบแพทย์ทันที และฝากครรภ์ที่รพ.ตลอดการตั้งครรภ์
ครรภ์แฝด
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน จากประวัติ LMP และการตรวจร่างกาย
หากพบว่าขนาดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือจ้า LMP ไม่ได้ ให้ส่งพบแพทย์ทันทีที่
กิจกรรมการพยาบาลห้องคลอด(รพช)
ประเมินเบื้องต้น
ประเมินเบื้องต้นแรกรับซักประวัติทั่วไป
ตรวจดูรายงานการฝากครรภ์อย่างละเอียด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะที่ 1ของการคลอด
ระยะที่เริ่มเจ็บครรภ์จริงงจนถึงปากมดลูกเปิด 3ชมและบางตัว 100 หรือเปิด 4ชม. บางตัว 80% (latent phase)
ระยะที่ปากมดลูกเปิด 3ชม. และบางตัว 100% หรือเปิด 4 ชม. บางตัว 80% จนปากมดลูกเปิดหมด (Active phase)
ระยะที่ 2 ของการคลอด
บันทึกชีพจร อัตราการหายใจ และความดันโลหิตสูงทุก 30 นาที การหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของ
หัวใจทารกทุก 15 นาทีความก้าวหน้าของการคลอด
(ตรวจภายใน)ทุก 1 ชั่วโมงตลอดจนการรักษาที่ได้รับในpantograph
ระยะที่ 3 ของการคลอด
บันทึกการหายใจ ชีพจรและความดันโลหิตของผู้
คลอดทุก 15 นาทีการหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออก เวลาที่รกคลอดตลอดจนการรักษาที่ได้รับในบันทึกการคลอด ให้การดูแลแบบActive phase management of third stage of labor
ระยะที่ 4 ของการคลอด
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพของมารดาหลังคลอดการหด
รัดตัวของมดลูก แผลฝีเย็บ full bladder และปริมาณ
เลือดที่ออกทุก 15 นาที 1 ครั้งหรือจนกว่าจะปกติ ถ้าปกติให้ตรวจสัญญาณชีพ การหดรัดตัวของมดลูกแผลผีเย็บ full bladder และปริมาณเลือดที่ออกทุก 30 นาที อีก 2 ครั้ง
พิจารณา refer
รพ แม่ข่าย
ประเมินเบื้องต้น
Hct < 30% หรือ
Hb <10 gm/dl
Rh negative
เสียงปอดและเสียงหัวใจ
ผิดปกติ
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
ระยะที่ 1ของการคลอด
เสียงปอดและเสียงหัวใจ
ผิดปกติ
EFM ผิดปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า
110 ครั้งต่อนาที
ระยะที่ 2 ของการคลอด
มารดาเบ่งคลอดนานกว่า50
นาทีในครรภและ 30นาทีในครรภ์หลัง
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110
ครั้งต่อนาที หรือ สูงมากกว่า 160
ครั้งต่อนาที
พยาบาลห้องคลอดรายงานแพทย์เวร (รพช)
ประเมินเบื้องต้น
ความสูงต่ำ 145 ชม.
มีภาวะชีดตัวเหลืองตาเหลือง
มีไข้
ต่อมไทรอยด์โต
ฟังเสียงปอดและเสียงหัวใจ
ผิดปกติ
ความสูงของยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับ
อายุครรภ์หรือน้อยกว่า 30 เซนติเมตร
ประเมินอายุครรภ์ไม่ได้
ทารกมีขนาดใหญ่
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ระยะที่ 1ของการคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ส่วนนำไม่ใช่ศีรษะ
สายสะดือย้อยหลังน้ำเดิน
มี Thick meconium
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาที หรือสูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
. EFM ผิดปกติ
น้ำคร่ำเดินมากกว่า 18 ชม
partograph ผิดปกติ
ระยะที่ 2 ของการคลอด
มารดาเบ่งคลอดนานกว่า50 นาทีในครรภ์
และ 30นาทีในครรภ์หลัง
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 ครั้งต่อ
นาที หรือ สูงมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
EFM ผิดปกติ
ระยะที่ 3 ของการคลอด
ล้วงรกไม่สำเร็จ
ไม่สามารถควบคุมแก้ไข มี
ภาวะตกเลือดภาวะhypovolemic shock ได้
กรณีรกไม่ลอกตัวและไม่มีactive bleeding
รกไม่คลอดภายใน 30
นาที
แผล Episiotomy ลึกและ
กว้างมาก
ระยะที่ 4 ของการคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
มากกว่าปกติ
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลงมากกว่า
ร้อยละ 15 หรือชีพ110 ครั้งต่อนาที
ความดันโลหิต 90/60 mmHg
รพ แม่ข่าย พิจารณา refer รพ.ศ
คลังเลือดไม่พร้อม
ไม่มี Anti Rh
Immunoglobulin
กรณีอื่นๆให้อยู่ในดุลย
พินิจของแพทย์ผู้ดูแล
นางสาว อพันตรี ลินคำ
เลขที่ 93