Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
ชักจากไข้สูง Febrile convulsion
สาเหตุ
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุแต่เชื่อว่ามีปัจจัยร่วมกันหลายชนิดได้แก่ พันธุกรรม ภาวะที่สมองเด็กยังไม่สมบูรณ์เต็มที และมีไข้เป็นปัจจัยกระตุ้น
พี่นองของเด็กที่เป็น Febrile Seizure มีความเสี่ยงในการเกิด Febrile Seizure สูงกว่าเด็กทั่ว ไป 4-5 เท่า
febrileseizure ยังเกิดในเด็กบางคนหลังที่ีได้รับวัคซีน DPTหรือ Measles
อาการและอาการแสดง
อัตราการมีไข้ขึ้นสูงอย่างรวดเร็วเป็นปัจจัยสำคัญ
ชักเป็นเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 1-2 นาที
ชักก่อนตรวจพบไข้หรือภายในเวลา 1 ชั่วโมงของไข้
การวินิจฉัยโรค
การตรวจน้ำไขสันหลัง เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญมาก
เด็กที่มีอายุน้อยกว่า 18 เดือน
การตรวจคลื่นสมอง ไม่ค่อยจำเป็นในเด็กที่ชักจากไข
การรักษา
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
ระงับอาการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus ให้ซ้ำได้ทุก 6-8ชม
Paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ้ำได้ทุก 4-6 ชั่วโมง
การพยาบาลที่สำคัญ
1.เสี่ยงต่อเซลล์สมองถูกทำลายจากการชักนาน
2.เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุหรืออันตรายจากการชัก
3.บิดามารดามีข้อจำกัดในการดูแลเด็กเนื่องจากขาดความรู้
เป็นปัญหาที่พบบ่อยในเด็กเล็กก่อนวัยเรียน รายงานจากต่างประเทศพบอุบัติการณ์ร้อยละ 2-5ในเด็กก่อนอายุ 5 ปี พบมากในช่วงอายุ 18-22 เดือน เด็กชายพบมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อ ที่กะโหลกศรีษะ เช่น
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศรีษะ
ภาวะผิดปกตทาง metabolism เช่น
Hypocalcemia
ภาวะผิดปกติทางไต เช่น Uremia
5.เนื้องอกในกะโหลกศรีษะ
โรคบาดทะยัก
7.ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด
เช่น Hydrocephalus
9.โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก (Epilepsy)
พยาธิสภาพ
อาการชักเป็นผลจากการมีการเปลี่ยนแปลง
การทำหน้าที่ของสมอง
การวินิจฉัยโรค
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นสมอง (electroencephalogram : EEG)
การถ่ายภาพรังสีสมอง
การรักษา
1.รักษาสาเหตุของการชัก
2.ใช้ยากันชักเพื่อควบคุมการชัก
3.พิจารณาให้การรักษาโดยการผ่าตัด
ในรายที่ไม่ตอบสมองต่อการให้ยากันชัก
หลีกเลี่ยงและควบคุมสิ่งกระตุ้น
การพยาบาลที่สำคัญ
1.เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุหรืออันตรายจากการชัก
เสี่ยงต่อการชักเนื่องจากการปล่อยกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติในสมอง
เด็กและบิดามารดามีความเครียดและวิตกกังวลจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
(Hydrocephalous)
สาเหตุ
มีการสร้าง CSF มากกว่าปกติ
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลังระหว่าง
จุดที่ผลิตและจุดที่ดูดซึม
ความผิดปกติของการดูดซึมของน้ำไขสันหลังจากการอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ขนาดของศีรษะขยายเมื่อมีน้ำ
มากขึ้น หน้าผากโปนเด่น
หนังศีรษะแยกออก ทำให้ขนาดของศีรษะ
ขยายใหญ่กว่าปกติ
เมื่อมองลงล่างจะเห็นตาขาวมาก
เบื่ออาหาร เลี้ยงไม่โต สั่น ร้องเสียงแหลม
การวินิจฉัย
เปรียบเทียบรอบศีรษะกับขนาดปกติของเด็กแต่ละวัย
ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะจะเห็นการแยกของSuture
3.Transillumination จะเห็นการแยกของSuture
CT Scan หรือVentriculography จะเห็น Ventricle
การรักษา
เจาะหลังใส่ยา ก็อาจให้ความดันของน้ำไขสันหลังปกติ
ถ้าศีรษะโตมากขึ้นเรื่อย ๆ ต้องผ่าตัดเอาส่วนที่อุดตันออก เช่น เนื้องอก
ทำ Shunt ให้น้ำไขสันหลังจาก Ventricleไปดูดซึมที่ peritonea
การพยาบาลที่สำคัญ
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง และเปลี่ยนแปลงทางประสาท เนื่องจากมีการสะสมของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร เนื่องจากดูดกลืนลำบาก
อาเจียน -จับให้เด็กเรอหลังดื่มนม
ความแข็งแรงของผิวหนังผิดไปจากคนปกติ
เนื่องจากศีรษะโตดูแลผิวหนังป้องกันระคายเคือง
ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาและเด็ก อาจไม่เป็นไปตามปกต
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง ในระยะ 1-3 วันหลังผ่าตัดเนื่องจากอาจมีการขัดขวางของน้ำไขสันหลังไปสู่ช่องท้อง
2.มีโอกาสเกิด subdural hematoma ในระยะ 1-3 วันหลังผ่าตัด V-P shunt
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อบริเวณ Shunt ทั้งในระยะแรกหลังผ่าตัด
และเมื่อกลับไปดูแลที่บ้าน
มีโอกาสเกิดภาวะ Shunt ท าหน้าที่ผิดปกติจากการใส่เป็นเวลานาน เช่น การอุดตันของ catheterหรือ การหลุดของ catheter
บิดามารดามีความวิตกกังวล เนื่องจากขาดความเข้าใจในการดูแลบุตร
นางสาวภิญญารัตน์ เปลี่ยนจันทึก รหัสนักศึกษา 621201145