Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 สถิติอ้างอิง, นายวัฒนะ บุตรสุวรรณ์
รหัส 636322332-03 - Coggle…
หน่วยที่ 9 สถิติอ้างอิง
-
-
การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐานเป็นวิธีการของสถิติเชิงอนุมานที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ สรุปลักษณะประชากรที่สนใจ โดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่าง โดยมีขั้นตอนดังนี้
-
- การกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ (𝛼)
-
-
- การตัดสินใจและสรุปผลการทดสอบ
สมมติฐาน (HypothesisHypothesis) คือข้อสมมติเกี่ยวกับค่าพารามิเตอร์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติจะเริ่มต้นโดยการนาสมมติฐานของการวิจัย (Research hypothesis hypothesis) มากาหนดเป็นสมมติฐานทางสถิติ (Statistical HypothesisHypothesis) สมมติฐาน (HypothesisHypothesis) แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
- สมมติฐานของการวิจัย (Research Hypothesis Hypothesis)
สมมติฐานของการวิจัย คือ คาตอบที่ผู้วิจัยสงสัยและคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล โดยเขียนเป็นประโยคข้อความที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร เป็นข้อความที่สามารถทดสอบได้
- สมมติฐานทางสถิติ (Statistical HypothesisHypothesis)
เป็นสมมติฐานที่กล่าวถึงลักษณะที่สนใจในประชากร อาจเขียนในรูปแบบของข้อความ หรือในรูปแบบของสัญลักษณ์ของค่าพารามิเตอร์สมมติฐานทางสถิติ (Statistical HypothesisHypothesis) แบ่งเป็น 2ประเภทคือ
-
- สมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis : H 1)
สมมติฐานทางเลือกหรือสมมติฐานรอง เป็นสมมติฐานที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้สรุปเมื่อผลการทดสอบพบว่าปฏิเสธสมมติฐาน Ho ซึ่งจะตั้งให้สอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจัย ซึ่งตั้งได้ 2แบบ คือ
- สมมติฐานทางเลือกแบบทางเดียว (One Tail Alternative HypothesisHypothesis)
เป็นสมมติฐานที่ตั้งในลักษณะความมากกว่า หรือน้อยกว่าในทิศทางใดทางหนึ่งเท่านั้น
เป็นการทดสอบที่กาหนดขอบเขตการปฏิเสธสมมติฐาน Ho ไว้ที่ปลายข้างเดียว อาจเป็นปลายทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้
จะกระทำเมื่อผู้วิจัยตั้งสมมติฐานการวิจัยไว้เป็นแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis Hypothesis)
ตัวอย่าง สมมติฐานการวิจัย : นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษมีความสามารถทางเหตุผลต่ากว่านักศึกษาวิชาเอกภาษาไทย
- สมมติฐานทางเลือกแบบสองทาง(Two Tail Alternative HypothesisHypothesis)
เป็นสมมติฐานที่ตั้งในลักษณะความแตกต่างกัน โดยไม่คานึงว่าจะต้องอยู่ในทิศทางใด
เป็นการทดสอบที่กาหนดขอบเขตของค่าวิกฤติ หรือเขตปฏิเสธสมมติฐาน Ho ไว้ปลายโค้งทั้งสองข้าง โดยแบ่งเขตวิกฤติออกเป็น 2 ส่วน ปลายแต่ละส่วนให้เอา 2 หารค่าระดับนัยสาคัญทางสถิติ เช่น ถ้าตั้งระดับนัยสาคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 เขตวิกฤติแต่ละปลายจะเท่ากับ .05 หาร 2 = 0.25
จะกระทำเมื่อผู้วิจัยตั้งสมมติฐานการวิจัยแบบไม่มีทิศทาง
(Non Directional Hypothesis )
สมมติฐานการวิจัย : นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษกับนักศึกษาวิชาเอกภาษาไทยมีความสามารถทางเหตุผลแตกต่างกัน
การเลือกสถิติในการทดสอบ
การเลือกใช้สถิติในการทดสอบเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญของการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งการที่จะเลือกสถิติใดเป็นสถิติทดสอบให้เหมาะสมกับข้อมูลนั้นจะต้องพิจารณาหลายอย่าง เช่น วัตถุประสงค์ ของงานวิจัย สมมติฐานของงานวิจัย ระดับการวัดของข้อมูลหรือตัวแปรที่ศึกษา จำนวนกลุ่มตัวอย่าง
การหาค่าวิกฤติ
การคำนวณค่าสถิติทดสอบ หรือการวิเคราะห์สถิติทดสอบโดยใช้คาสั่งในโปรแกรมสาเร็จรูป เป็นการหาค่าวิกฤติ (Critical Value) หรือ p value บนการแจกแจงทางทฤษฎีของค่าสถิติจากข้อมูลตัวอย่างที่ศึกษาภายใต้ข้อสมมติว่า Ho ที่กาหนดเป็นจริง เพื่อนาค่านี้ไปเปรียบเทียบกับ ระดับนัยสาคัญที่ตั้งเป็นเกณฑ์ไว้ จะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานการทดสอบ
การคำนวณค่าสถิติทดสอบอาจใช้การคานวณด้วยมือจากสูตรของสถิติทดสอบ หรืออาจใช้การคานวณโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ซึ่งในปัจจุบันนิยมใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการวิเคราะห์ เพราะมีความสะดวก รวดเร็วและถูกต้อง โปรแกรมจะคำนวณค่า p value (sig.) มาพร้อม แต่ถ้าใช้วิธีคานวณด้วยมือจากสูตร ผู้วิจัยต้องนาค่าสถิติที่ได้จากการคานวณไปเปิดตารางค่าสถิติ เพื่อหาค่าวิกฤติ หรือค่า p
value ซึ่งไม่สะดวก ยุ่งยาก อาจเกิดความผิดพลาดได้
-
-