Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก (Birth asphyxia), images (8), นางสาววรนัน โป้ทอง…
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก
(Birth asphyxia)
หมายถึง
ภาวะที่ประกอบไปด้วยเลือดขาดออกซิเจน มีคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnia) และมีภาวะกรดจากเมตาบอลิซึม (acidosis)หรือจากการไม่มีการระบายอากาศที่ปอด (ventilation) ร่วมกับปริมาตรเลือดที่ผ่านปอดมีน้อยหรือมีไม่เพียงพอหลังจากการคลอด ส่งผลให้อวัยวะที่สำคัญขาดออกซิเจนไปหล่อเลี้ยง ทำให้เกิดการสูญเสียหน้าที่ (สุนิดา พรรณะ, 2020)
จากการจำแนกโรคขององค์การอนามัยโลกตาม ICD 10 ใช้การประเมิน Birth asphyxia เมื่อมีค่า คะแนน APGAR score ที่ 1 นาทีน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 โดยแบ่งเป็น 2 ระดับ
severe birth asphyxia
ทารกที่มีค่าคะแนน APGAR ที่ 1 นาทีเท่ากับ 0-3
mild or moderate birth asphyxia
ทารกที่มีค่าคะแนน APGAR ที่ 1 นาที เท่ากับ 4-7
APGAR scores เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจประเมินสภาวะ ของทารกแรกเกิด เพื่อประกอบใช้ในการพิจารณาการช่วยฟื้นคืนชีพ ของทารกแรกเกิด
A : Appearance (สีผิว)
เขียวคล้ำทั้งตัว
ปลายมือปลายเท้าเขียว
แดงดีทั้งตัว
P : Pulse (ชีพจร)
0 / min
< 100 / min
≥ 100 / นาที
G : Grimace (ตอบสนองต่อการกระตุ้น)
ไม่ตอบสนอง
ทำสีหน้าแสยะหรือร้องเบาๆ
ไอจามร้องดัง
A : Activity (เคลื่อนไหว)
อ่อนปวกเปียก
งอแขนขาเล็กน้อย
เคลื่อนไหวปกติ
R : Respiration (หายใจ)
ไม่หายใจ
หายใจช้า ไม่สม่ำเสมอ
หายใจสม่ำเสมอ
ลักษณะ
0
1
2
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
(สมบัติ ศักดิ์สง่าวงษ์,2562)
ด้านมารดา
ปัจจัยด้านสังคม
ระดับการศึกษา
อาชีพ
ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด/ฝากครรภ์
อายุหญิงตั้งครรภ์
ความสูง
สถานที่ฝากครรภ์
จำนวนครั้งของการฝากครรภ์
ลำดับของการตั้งครรภ์
ภาวะของการแท้ง
น้ำหนักตัวก่อนการฝากครรภ์
ดัชนีมวลกายก่อนการฝากครรภ์
ภาวะเบาหวานก่อน/ขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงก่อน/ขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจาง
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด
เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ภาวะรกเกาะต่ำ
ภาวะขี้เทาในน้ำ คร่ำเล็กน้อย
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
ค่าความเข้มข้นของเลือดก่อนคลอด
ภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ภาวะผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกและเชิงกราน
ไม่มีแรงเบ่ง
ภาวะคลอดติดไหล่
ดัชนีมวลกายก่อนการคลอด
ภาวะมีขี้เทาในน้ำคร่ำ
การให้ยาเร่งคลอด
ส่วนนำของทารก
วิธีคลอด เวลาคลอด
การใช้หัตถการในการช่วยคลอด เช่น F/E , V/E, C/S
ด้านทารก
อายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
น้ำหนักทารก < 2500 , > 4000 กรัม
ภาวะทารกคับขันในครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด
เพศทารก
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนคลอด
มีการเปลี่ยนแปลงของเสียงการเต้นของหัวใจ
น้ำคร่ำมีสีขี้เทาปน
อัตราการเต้นของ หัวใจทารกอาจเเต้นเร็วหรือช้า
ทารกดิ้นมากหรือน้อยกว่าปกติ
ภายหลังคลอด
อาการเมื่อแรกเกิด
ทารกสีผิวเขียว
ไม่หายใจ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ปฏิกิริยาตอบสนองลดลง หรือหัวใจเต้นช้า
อาการในระยะหลังคลอดต่อมา
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในระบบ ต่างๆ ที่เห็นชัดเจนมากที่สุดก็คือ ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจ และระบบหายใจ
การตรวจเลือด
ABG ผิดปกติ คือ PaCO2 สูง, PaO2 ต่ำ, pHและ HCO3 ต่ำ
น้ำตาลในเลือด < 30 mg%
Ca ในเลือด < 8 mg%
K ในเลือดสูง
การวินิจฉัย
ประวัติมารดา
เกิดการลดลงเรื้อรังของการแลกเปลี่ยนสารระหว่างทารกในครรภ์
ครรภ์เกินกำหนด
ทารกโตช้าในครรภ์
การลดลงของออกซิเจนมารดา
โรคหัวใจและปอด
ภาวะหายใจช้าและเบา
ภาวะพร่องออกซิเจน
การไหลเวียนเลือดมารดา/ทารก
มารดาความดันโลหิตสูง/ต่ำ
มดลูกหดรัดตัวแรงตลอดเวลา
พร่องการแลกเปลี่ยนเลือดและออกซิเจนระหว่างทารกและรก
สายสะดือโผล่ (Overt prolabse)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio Placentae)
รกเกาะต่ำ (Placenta Previa)
สายสะดือพันคอ (Nuchal cord)
ภาวะ Asphyxia
FHS > 160 /min หรือ < 110 /min
Apgar score น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 คะแนน
มี maconium ในน้ำคร่ำ
การพยาบาล
เตรียมการช่วยเหลือ
รายงานแพทย์ทันทีที่สามารถประเมินพบว่ามีทารกภาวะขาดออกซิเจน
เตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือสำหรับการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
การช่วยเหลือ
Position นอนหงายหรือตะแคงซ้าย
Clear air way โดยดูดสารคัดหลั่งในปาก จมูกด้วยลูกยางแดงทันทีแรกคลอด
กระตุ้นการหายใจโดยลูบทรวงอก
ให้ Oxygen mask with bag 4-5 LPM กรณีไม่ตอบสนองต่อการ suction
เช็ดตัวให้แห้งและห่อผ้า Keep warm วางใต้ radiant warmer
สังเกตการหายใจอย่างน้อย 30 นาที ใน 2 ชม.แรกคลอด
ประเมินอาการที่แสดงถึงภาวะ Asphyxia ได้แก่ ความรู้สึกตัว การตอบสนองของรูม่านตา เสียงร้อง ลักษณะขม่อมที่ตึงหรือโป่ง และอาการชัก
ในรายที่มีอาการรุนแรง
ทำ chest compression ต่อจากการทำ ventrilation ด้วยการใช้ bag, mask และ endotrachial tube
ให้ยาตามแผนการรักษาเพื่อแก้ภาวะ metabolic acidosis คือ NaHCO3 1-2 mEq/kg
หากมีภาวะ shock อยู่ อาจให้ plasma, blood, 5% saline, NSS หรือ RLS
ให้ adrenaline 1:10,000 จำนวน 1 ml เข้าทาง Umbilical catheter
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังจากฟื้นจากภาวะขาดออกซิเจน
วัดและประเมิน v/s ทุก 1 ชม. ใน 12 ชม. แรกหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 10 % dextrose in water
สังเกตอาการชัก
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา เช่น phenobarbital ระงับการชัก และ mannital หรือ dexamethasone ลดอาการสมองบวม
แนวทางช่วยเหลือทารกตามคะแนน
5-7 (Mid asphyxia)
ช่วยเหลืออาจกระตุ้นการหายใจด้วยการตีหรือดีดฝ่าเท้าหรือใช้ผ้าถูหน้าอก Sternum ให้ Oxygen mask with bag 4 LPM ถือเหนือหน้าทารก
3-4 (Moderate asphyxia)
ทารกจะตอบสนองการหายใจด้วยการใช้ถุงและหน้ากาก โดยการให้ O2 100 % และความดันที่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของทรวงอก ควรให้การช่วยหายใจจนกว่าทารกจะตัวแดง และนำทารกไปตรวจทางห้องปฏิบ้ติการต่อไป
8-10 คะแนน (No asphyxia)
ไม่ต้องให้การช่วยเหลือพิเศษ ช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งและให้ความอบอุ่นแก่ทารกก็เพียงพอ
0-2 (Severe asphyxia)
ช่วยเหลือทันทีที่คลอดเสร็จ โดยใส่ ETT และช่วยการหายใจด้วยถุง โดยให้ O2 100 % พร้อมกับการนวดหัวใจ ถ้ายังไม่มีการเต้นของหัวใจภายใน 1 นาที หรืออัตราการเต้นของหัวใจ < 100 /นาที หลังการนวดหัวใจและให้การช่วยหายใจด้วย O2 เป็นเวลา 2 นาที ทารกควรได้รับการใส่สาย Umbilical venous catheter เพื่อให้โซเดียมไบคาร์บอเนต สารนํ้า และยาอื่นที่จำเป็น
Vigorous หมายถึง การหายใจได้ดี (ร้องดัง) ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดี (ดิ้นดี) อัตราการเต้นของหัวใจ >100 ครั้ง/นาที
:star: ภาวะสูดสำลักขี้เทาในน้ำคร่ำ :star:
(Meconium Aspiration Syndrome :MAS :)
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดเลือดหรือปอด ส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลําบาก
พยาธิสภาพ
การขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอดทําให้ขี้เทาถูกบีบออกมาอยู่ในน้ำคร่ำการหายใจที่เกิดขึ้น ทําให้ทารกสูดสําลักขี้เทานี้เข้าสู่ทางเดินหายใจ หากขี้เทามีขนาดใหญ่จะอุดตันหลอดลมใหญ่ๆ ทําให้การขาดออกซิเจนมีความรุนแรงมากแต่หากการสําลักก้อนเล็กๆและกระจายอยู่ทั่วไปอุดตันท่อลมเล็กๆ เป็นการอุดตันอย่างสมบูรณ์ทําให้เกิดภาวะ ball valve mechanism อากาศถูกกักอยู่ในถุงลมใต้ตําแหน่งที่ถูกอุดตันทําให้บริเวณนั้นมีภาวะ hyperinflation เกิดภาวะ pneumo thorax หรือ pneumo mediastinum ได้
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
ภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกําหนด
ภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบหรือการติดเชื้ออืนๆ
มารดาอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ปัจจัยด้านทารก
ภาวะขาดออกซิเจน
การที่สายสะดือหรือศรีษะทารกถูกกด จะทําให้มีการกระตุ้นระบบประสาทเวกัส ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของลำไส้
การพยาบาล
เมื่อทารกคลอดแล้วอาจจะใช้สายยางอ่อนขนาดเล็ก ดูดน้ำคร่ำเพิ่มเติมที่ส่วนที่ต่ำลงมาจากปาก หากมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ ประกอบกับทารกหายใจช้า ความตึงตัวของกล้ามเนือลดลง ควรใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อดูดขี้เทาออกก่อน เพราะขี้เทามักเหนียว ดูดผ่านท่อเล็กไม่ได้
กรณีที่ยังไม่หมดเมื่อทําคลอดไหล่แล้ว แต่ยังไม่ดึงลําตัวทารกออกมา ให้รีบดูดน้ำคร่ำเพิ่มทั้งในปากและจมูกก่อนที่ทารกจะร้อง
หลังจากนั้นควรดูสภาพของทารกไม่ให้ขาดออกซิเจนนานเกินจําเป็น คือ ไม่ควรนานเกิน 20 นาที หรืออัตราการเต้นของชีพจรช้าลง
เมื่อศีรษะทารกคลอด ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งแล้วดูดเอาเมือก น้ำคร่ำออกจากปากและจมูกทันที
กรณีที่น้ำคร่ำมีขี้เทาปนและทารกยังร้องดี หายใจได้ดี ความตึงตัวของกล้ามเนื้อปกติ ไม่จําเป็นต้องใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อดูดขี้เทา แต่สามารถให้การพยาบาลช่วยเหลือได้ตามปกติ
กรณีศึกษา
:fire: ทารกเพศชาย คลอดเมื่อวันที่ 20 ก.ย. 64 เวลา 11.11 น. ทารกคลอดครบกำหนด GA 38 wks น้ำหนักแรกเกิด 2,400 กรัม :fire:
:!!: Apgar score นาทีที่ 1 ทารกมีปลายมือปลายเท้าเขียว อัตราการเต้นของหัวใจ 110 ครั้งต่อนาที หายใจไม่สม่ำเสมอ suction ทำหน้าแสยะ แขนขางอเล็กน้อย
:!!: Apgar score นาทีที่ 5 ทารกตัวแดงดีทั้งตัว อัตราการเต้นของหัวใจ 120 ครั้งต่อนาที หายใจไม่สม่ำเสมอ ร้องเบา แขนขางอเล็กน้อย
:!!: Apgar score นาทีที่ 10 ทารกตัวแดงดีทั้งตัว อัตราการเต้นของหัวใจ 130 ครั้งต่อนาที หายใจสม่ำเสมอ ร้องเสียงดัง แขนขางอเข้าหาลำตัว
นางสาววรนัน โป้ทอง 61102301120 กลุ่ม D4