Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์, เอาใจใส่ดูแลทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้ดี,…
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
มารดาครรภ์แรก อายุ 23 ปี อายุครรภ์ 38 + 4 wks by U/S ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ ที่โรงพยาบาลพุทธชินราช ผลการตรวจเลือดขณะฝากครรภ์ปกติ HBsAg = Negative,VDRL = Non Reactive, HIV = Negative Bloood group A Rh + Hct คร้ังที่1 = 34% คร้ังที่ 2 = 35% ระหว่างตั้งครรภ์ไม่มีอาการผิดปกติ มาโรงพยาบาลด้วยอาการมีน้ำใสๆ ไหลออกทางช่องคลอด ไม่เจ็บครรภ์ 2 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล แรกรับที่ห้องคลอด (15.00 น.) ระดับยอดมดลูก 3/4 เหนือระดับสะดือ ปากมดลูกปิด มีน้ำเดินออกทางช่องคลอด Mild meconium
ทดสอบน้ำเดินด้วย Nitrazine Paper Test ได้ผล Positive ทารกมีส่วนนำเป็นศีรษะ อัตราการเต้นของหัวใจ 146 คร้ัง/นาที รายงานแพทย์มี Order 5% D/N/2 1000 cc +
Syntocinon 10 u drip 40 cc/hr เวลา 17.00 น. หลังจากเร่งคลอด 2 ชั่วโมง มดลูกหดรัดตัว
Interval = 5 นาที Duration = 35 วินาที ปรับ Rate IV เป็น 50 cc/hr หลังเร่งคลอด 4 ชั่วโมงประเมินความก้าวหน้าของการคลอด Cervix dilate 2 cm. effacement 75% station -2 Interval = 4 นาที Duration = 40 วินาที ปรับ Rate IV เป็น 60 cc/hr หลังเร่งคลอด 8 ชม. ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด พบว่าไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด Cervix dilate 2 cm. effacement 75% station -2 อัตราการเต้นของหัวใจทารก 148 -150 ครั้ง/นาที แพทย์จึง พิจารณาช่วยคลอดโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มารดาครรภ์ที่ 2 อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ 6 วัน มาโรงพยาบาลด้วยอาการเจ็บครรภ์เป็นพักๆ มีน้ำใสๆไหลออกจากช่องคลอด ตั้งแต่ 05.00 น. ไม่มีมูกเลือด ทารกในครรภ์ดิ้นดี จากการตรวจภายในพบว่า Cervix dilate 4 cm. effacement 100% station 0 MR Interval 3 นาที Duration 45 วินาที ความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูกระดับ +2 ได้รับการรักษาคือ เฝ้าสังเกตอาการและประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและให้ยายับยั้งการคลอด Adalat 10 mg กินทุก 15 นาที 2 ครั้งและให้ยา Dexamethasone 4 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมง 1 ครั้ง ภายหลังให้การรักษา มารดายังมีอาการเจ็บครรภ์ Interval 2 นาที Duration 30 วินาที นาน 50 วินาที เวลา 12.00 น. ปากมดลูกเปิดหมดเวลา 12.20 น. คลอดทารกเพศหญิง น้ำหนักตัว 1,980 กรัม
-
-
-
1.การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (preterm labor) การเจ็บครรภ์ระหว่าง 24-36+6 wks มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ 4 /20 min หรือ 8 /hr ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงปากมดลูกมีการขยายปากมดลูกมากกว่า 1 cm และมีความบางตัวตั ้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2.การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคาม (threatened preterm labor) การเจ็บครรภ์ระหว่าง 24-36+6 wks โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 10 นาที ใช้เวลาประเมินอย่างน้อย 30 นาที
โดยปากมดลูกไม่มีการเปลี่ยนแปลง
- การเจ็บครรภ์เตือน (false labor pain ) การเจ็บครรภ์ระหว่าง 24-36+6 wksโดยมีการหดรัดตัว ของมดลูกไม่สม่ำเสมอทั้งความแรงความถี่ เมื่อนอนพักอาการเจ็บ
หายไปได้เอง
4.cervical insufficiency ไม่มีอาการเจ็บครรภ์แต่ปากมดลูกเปิด หลังช่วง mid pregnancy
มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
- สูบบุหรี่/สารเสพติด
- ไม่ได้ฝากครรภ์
- ขาดสารอาหาร/มีภาวะทุพโภชนาการ
- ภาวะซีด (anemia)
- น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย (< 50 kg)
- ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
- ติดเชื้อระบบสืบพันธุ์
- การทำงานหนัก
- ความเครียด
- เคยคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
- อายุ <18 ปี / >35 ปี
- เศรษฐานะทางสังคมไม่ดี
- ปากมดลูกบาดเจ็บ
- มดลูกผิดปกติ/มีเนื้องอก
- การหดรัดตัวของมดลูกมากผิดปกติ
- มดลูกยืดขยายมาก (ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ)
- ภาวะเลือดออกก่อนคลอด
- ภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
- ครรภ์แรก
- ทารกพิการแต่กำเนิด/ตายในครรภ์
-
-
-
-
-
Nifedipine ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกได้ มีภาวะแทรกซ้อน เช่น RDS, Neonatal Jaundice น้อยกว่ายายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกตัวอื่นโดยเฉพาะยา beta-agonist
- Nifedipine 10 mg oral ทุก15 นาที 4 ครั้ง (ให้ยาได้ไม่เกิน 40 mg ใน 1 hr แรก)
- หลัง loading dose 4 hr ให้ maintenance ด้วยยา Adalat 60 mg oral วันละครั้ง (ไม่ควรให้ยานานเกิน 7 วัน)
- Maximum dose is 160 mg/day
ข้อบ่งชี้
- BP ต่ำกว่า 90/60 mmHg
- โรคหัวใจ
- การทำงานของตับบกพร่อง
- ได้รับยาลดความดันโลหิตตัวอื่นร่วมด้วย หรือระมัดระวังในกรณีได้รับยา MgSO4
Side effects
- Facial flushing (หน้าแดง)
- Headache (ปวดศีรษะ) / เวียนศีรษะ
- คลื่นไส้
- Tachycardia (ภาวะหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ)
- Hypotension Cardiac failure (ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง)
การพยาบาล
- วัด BP + PR ก่อนให้ยา และทุก 15 นาทีหลัง ได้รับยาในช่วงแรก (loading dose)
- หาก BP < 90/60 mmHg/PR>120 T/min ให้หยุดยา และให้ IV fluid
- bed rest/เฝ้าระวัง falling
- On EFM
- ประเมิน contraction
- ถ้าผู้ป่วยได้รับ MgSO4 ร่วมด้วยให้สังเกตการหายใจอย่างใกล้ชิดและระมัดระวังการกดการหายใจจาก Respiratory muscle paralysis
- เฝ้าระวังผลข้างเคียง