Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ Abdominal system - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพ Abdominal system
การดู Inspection
ลักษณะทั่วไป (General appearance)
ลักษณะรูปร่างของหน้าท้องทั่วไป
ความสมดุลของหน้าท้อง
ความเรียบแบน โป่งนูน ท้องโตกว่าปกติ (abdominal distention)
ลักษณะผิวหนัง สีผิว รอยผ่าตัดหรือแผลเป็น (scar)
หลอดเลือดดำที่โป่งพอง (superficial vein dilation)
ลักษณะคล้ายเส้นเลือดกระจายคล้ายใยแมงมุม (spider nevi)
การฟัง Auscultation
ใช้หูฟัง (stethoscope) ด้านdiaphragm
การฟังแต่ละคร้ังควรฟังให้ท่ัวทั้ง 4 Quadrant
1 quadrant ฟังให้ครบ 1 นาที เสียงที่ได้ยินในการฟัง
Normal active bowel sound : เสียงลำไส้ปกติ 5-35 คร้ัง/นาที
Hyperactive bowel sound มีภาวะลำไส้อักเสบ ท้องเสีย หรือการอุดตันของลำไส้
Hypoactive bowel sound
ลำไส้ไม่บีบตัว (paralytic ileus) มีการอักเสบในช่องท้องท่ี รุนแรง ลำไส้เคลื่อนตัวน้อย มีการทะลุของอวัยวะในช่องท้อง
เสียงผิดปกติที่พบได้บ่อย เสียงฟู่ (bruit หรือ murmur)
การคลำ Palpation
การคลำแบบตื้น (light palpation)
Tenderness
กดเจ็บเฉพาะที่หรือทั่วไปแสดงว่ามีพยาธิสภาพบริเวณที่กด
Rebound Tenderness
เจ็บเมื่อผู้ตรวจเอามือกดแรงๆและปล่อยโดยเร็ว แสดงว่ามีการอักเสบของบริเวณน้ัน
Regidity
เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเน้ือหน้าท้องตลอดเวลาเมื่อถูกกดคลำ แสดงว่า มีการอักเสบที่ perietal peritoneum
Guarding หรือ Spasm
เป็นการเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้องถ้าเกิดโดยไม่จงใจ แสดงว่ามี การอักเสบของ visceral peritoneum
Mass ก้อนผิดปกติ ลักษณะของก้อนที่สามารถคลำพบได้
การคลำแบบลึก
(Deep palpation)
เพื่อประเมินขนาดก้อนหรืออวัยวะในช่องท้องตำแหน่ง (location)
บริเวณท่ีกดเจ็บ (tenderness) เป็นเฉพาะท่ี (location) หรือทั่วไป (generalized)
การเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
เมื่อถูกกด (spasm)
เกิดขึ้นโดยจงใจ (voluntary)
เกิดขึ้นโดยไม่จงใจ (involuntary)
การคลำตับ (Liver span)
Bimanual palpation
Hooking method
ลักษณะของตับ
ขนาด (size)
นิยมวัดจากชายโครงขวาถึงขอบล่างของตับเป็น
เซนติเมตรหรือ ความกว้างของนิ้วมือ(finger breadth)
ผิว (surface) : เรียบ (Smooth) หรือ ขรุขระ (nodular)
ขอบ(edge) : บาง (thin) มน(blunt) หรือ คมเรียบ(Sharp)
ความนุ่ม-แข็ง(consistency) : นุ่ม (Soft) แน่น(Firm) แข็ง(Hard)
การกดเจ็บ(tenderness) : มีหรือไม่
การคลำบริเวณถุงน้าดี Murphy’s sign
การคลำม้าม
เร่ิมคลำที่หน้าท้องด้านล่างซ้ายเพื่อป้องกันการผิดพลาด ในรายที่ม้ามโตมากๆแล้วค่อยๆเลื่อนข้ึนข้างบนจนปลายนิ้วพบ ขอบม้ามซึ่งยื่นออกใต้ชายโครงซ้าย
จะคลำได้เมื่อโตมากกว่า 3 เท่า ซึ่งพบได้ในผู้ท่ีมี
Portal Hypertension , Polycythemia, Thalassemia
การคลำไต
ในคนปกติไตที่คลำได้มักจะเป็นไตขวา และจะคลำได้เฉพาะ
ส่วนล่างด้วยการคลำสองมือ (bimanual palpation)
ไตข้างขวาจะอยู่ต่ากว่าด้านซ้าย จึงคลำได้ง่ายกว่า
การตรวจช่องท้องกรณีสงสัยไส้ติ่งอักเสบ
McBurney’s point
เป็นตำแหน่งหนึ่งบนหน้าท้องบริเวณด้านขวาล่าง ของหน้าท้องหรือบริเวณท้องน้อยด้านขวา (right iliac fossa) ตำแหน่ง 1 ใน 3 หรือ 1.5-2 นิ้ว นับจาก Anterior superior iliac spine (ASIS) ไปยังสะดือ
Rovsing’s sign
เป็น refer rebound tenderness ผู้ตรวจกดตรงบริเวณท้องน้อยด้านซ้าย (left iliac fossa) ของผู้รับบริการ ปล่อยมือจากหน้าท้องทันที จะทาให้เกิดแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยจะเกิดการเจ็บปวดที่บริเวณท้องน้อยด้านขวา
(Rovsing’s sign positive)
การเคาะ Percussion
เพื่อใช้ในการหาสารน้า ของเสีย หรือก้อนในช่องท้อง การวัดขนาดของตับ ม้าม และ ก้อนในท้องร่วมกับการคลา
เสียงจากการเคาะ
Dull percussion sounds/Short high pitch sound
เสียงตื้อๆ จะได้ยิน เมื่อเคาะบนอวัยวะท่ีมีความหนาแน่นมาก เช่น ตับ ม้าม กระเพาะปัสสาวะท่ีมี ปัสสาวะเต็ม
Tympanic percussion sounds/Long low-pitch sounds
เสียงก้องจะได้ยินเมื่อกระเพาะหรือลำไส้มีอากาศอยู่มาก
Flat percussion sounds/silent, Very short and high pitched
เสียงแปะๆ ได้ยินเมื่อเคาะบนกล้ามเนื้อ หรือเหนือบริเวณลิ้นปี่
การตรวจเคาะม้าม (splenic dullness)
ม้าม อยู่บริเวณใต้กระดูกซี่โครงซ้ายท่ี 9-11 แนว Posterior axillary line หรือ mid axillary line
การตรวจเคาะ Costovertebral angle
เป็นการหาความผิดปกติ คือ ภาวะกรวยไตอักเสบ (Acute pyelonephritis)
การเคาะเพื่อหาสารน้ำ
หรือของเหลวในช่องท้อง(Ascites)
Shifting dullness
การเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ ซึ่งจะได้ลบวก เมื่อมีน้ำเกิน 1 ลิตรขึ้นไป
puddle signs
เป็นการตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง โดยเฉพาะที่จำนวนน้อยเช่น 200 มล.
Fluid thrill
การตรวจหาการสั่นสะเทือนของสารน้า