Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผังมโนทัศน์การหมุนเวียนน้ำในมหาสมุทรกับลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ - Coggle…
ผังมโนทัศน์การหมุนเวียนน้ำในมหาสมุทรกับลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ
การหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทร
อุณหูมิ ความเค็ม การแบ่งชั้นของน้ำ
อุณหภูมิ
อุณหภูมิของผิวน้ำแต่ล่ะแถบของมหาสมุทรในแต่ล่ะแถบละติจูดนั้นแตกต่างกัน โดยน้ำผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณศุนย์สูตรมีอุณหภูมิที่สูงกว่าละติจูดที่สูงกว่าขึ้นไป
ความเค็ม
ความเข็มของน้ำแต่ล่ะเขตของละติจูด
ผิวน้ำหน้ามหาสมุทรบริเวณเส้นศูนย์สูตร เค็มปานกลาง
ผิวน้ำหน้ามหาสมุทรบริเวณที่อยู่ใต้ของอากาศในแฮดลีย์เซลย์และเฟอเรสเซอร์ เค็มมาก
ผิวน้ำหน้ามหาสมุทรบริเวณขั่วโลก เค็มน้อบ
การแบ่งชั้นน้ำโดยใช้อุณหภูมิ
น้ำชั้นบน
มีอุณหูมิสูงกว่าชั้นอื่น เพราะได้รับรังสีของดวงอาทิตย์และได้รับจากคลื่นกระแสน้ำ
น้ำชั้นล่าง
มีอุณหภูมิต่ำ การไหลในน้ำลึกไม่ส่งผลต่อการผลมกับมวลน้ำอื่นๆ
น้ำชั้นThermocline
เกิดจากการผสมน้ำชั้นบนกับน้ำชั้นล่าง
การหมุนเวียนของน้ำผิวหน้ามหาสมุทร
มีทิศทางการเครื่อนที่แตกต่างตามกระแสลม ในแต่ ละติจูด รวมทั้งแรงคอริออริสที่เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
บริเวณแถบศุนย์สูตรได้รับอิทธิพลจากลมค้าในแฮดลีย์เซลล์ที่พัดผิวหน้ามหาสมุทรตามกระแสลมเกิดเป็นกระแสน้ำผิวหน้ามหาสมุทร
ทิศทางลมไปขวาทางซีกโลกเกนือ ไปทางซ้ายในซีกโลกใต้
เอนนีโญและลานีญา
เอลนีโญ
ลมค้าอ่อนกว่าปกติ ทำให้เกิดน้ำอุ่นบริเวณหน้ามหาสมุทรถูกผัดไปยังด้านทิศตะวันออกได้น้อยลง
ลานีญา
ลานีญา ลมค้าแรงกว่าปกติ น้ำอุ่นบริเวณผิวหน้าถูกพัดไปยังด้า้นตะวันตกมากขึ้น
กระแสน้ำอุ่นและกระแสน้าเย็น
กระแสน้ำอุ่น
พื้นที่ชายฝั่งที่มักจะมีกระแสน้ำอุ่นไหลผ่าน จะเกิดการถ่ายโอนความร้อนจากน้ำไปยังอากาศ
กระแสน้ำเย็น
พื้นที่ชายฝั่งที่มักจะมีกระแสน้ำเย็นไหลผ่าน จะเกิดการถ่ายโอนความร้อนจากอากาศไปยังน้ำ
การหมุนเวียนของอากาศบนโลก
แรงที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ
เมื่อความกดอากาศบริเวณ2ที่ มีความต่างกัน ทำให้อากาศเคลื่อนที่ เรียกว่า แรงที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ (H/L)
โดยอากาศเคลื่อนที่จากบริเวณ H (P ↑ T ↓) ไปยัง L( P ↓ T ↑ )
แรงที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
เนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้เกิดแรงคอริออลิส ซึ่งมีผลทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศเบนไปจากทิศทางเดิม
แรงคอริออลิส ทำให้อากาศเคลื่อนที่ในแนวโค้งทำให้เกิด แรงสู้ศูยน์กลาง
โดยมีความสัมพันธ์กับละติจูกับอัตราเร็ว
อัตราเร็ว
V and F↑
ละติจูด
การเบนของอากาศจากทิศทางเดิมที่เพิ่มขึ้นตามละติจูดที่สูงขึ้น
แรงสู่ศูยน์กลาง
เมื่ออากาศเคลื่อนที่เนื่องจากแรงที่เกิดจากความแตกต่างแล้ว แรงคอริออลิสทำให้ทิศทางเบนไปจากเดิมในแนวโค้ง จะทำให้เกิด แรงสู้ศูยน์กลาง
มีความสัมพันธ์กับความเร็วลมและรัศมีมีการเคลื่อนที่ของลม โดยมีความเร็วลม ↑ แรงสู้ศูนย์กลาง ↑อากาศเคลื่อนที่โค้ง ↑
แรงเสียดทาน
เนื่องจากพื้นผิวแต่ละชนิดมีแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือแรงเสียดทาน
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในทะเลเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่งจะอ่อนกำลังลงเพราะมีแรงต้านหรือแรงเสียดทาน
การหมุนเวียนของอากาศบนโลก
การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อนหรือแฮดลีย์เซลล์การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อน (0°-30°)แนวความกดอากาศต่ำบริเวณ0สูตร 0'NSลมตะวันตก(ลมค้า)
การหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลกหรือโพลาเซลล์แนวความกดอากาศสูง 60°NSลมตะวันออก
การหมุนเวียนอากาศแถบละติจูดกลางหรือเฟอร์เีลเซลล์การหมุนเวียนแถบละติจูดกลาง (30°-60°)เกิดจาก hadley cell + polar cel
ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนอากาศกับอุณหภูมิ
ภูมิอากาศในการหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อน
0°=อากาศร้อน แบบร้อนชื้น
30°=อากาศแห้งแล้ง ทะเลทราย
ภูมิอากาศในการหมุนเวียนอากาศแถบละติจูดกลาง
30° อากาศแห้งแล้ง-ทะเลทราย
60°=เกิดเมฆ / หยาดน้ำฟ้า
ภูมิอากาศในการหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลก
ละติจูด↑ - อุณหภูมิลด - ความชื่นต่ำ
ขั้วโลก - พืดน้ำแข็ง(Ice sheet) - หนาวมาก