Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระสำคัญของการเป็นวิชาชีพครู, บทที่ 10, นางสาวเจนจิรา พลศรีดา รหัส…
สรุปสาระสำคัญของการเป็นวิชาชีพครู
7ปฏิบัติตนฟูเฟื่องตามจรรยาบรรณครู
5.จรรยาบรรณต่อสังคม
พึ่งปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม
3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงาม
ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม
ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ
2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ต้องรัก ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง
ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์
4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
เพิ่งช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์
9.ไม่เหยียดหยามดูหมิ่นเพื่อนร่วมงาน
3.สงเคราะห์การงาน(อัตถจริยา)
2.วจีไพเราะ (ปิยวาจา)
1.โอบอ้อมอารี (ทาน)
4.สมานไมตรี (สมานัตตตา)
4.อบรมฝึกฝนวิธีสอน
2.หลักการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3.หลักการสอนโดยไม่ใช้ครู
เร้าให้กล้า
ปลุกให้ร่าเริง
ชวนให้ปฏิบัติ
ชี้ให้ชัด
หลักการสอนโดยยึดครูเป็นกลาง
1.สร้างความตระหนัก
การมีภาระงานที่หนัก
เป็นบุคคลที่ควรตระหนัก
การฝึกฝนอย่างหนัก
3.เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ตน
ความเป็นครู
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การวิจัยทางการศึกษา
การบริหารจัดการในห้องเรียน
การวัดและประเมินผลการศึกษา
จิตวิทยาสําหรับครู
การจัดการเรียนรู้
การพัฒนาหลักสูตร
ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
5.เอื้ออาทรเมตตาศิษย์
5.1 พรหมวิหารธรรม 4
กรุณา
มุทิตา
อุเบกขา
เมตตา
5.2 กัลยาณมิตตธรรม
ปิโย - น่ารัก
ครุ - น่าเคารพ
ภาวนีโย - หน้าเจริญใจ
วัตตา - รู้จักพูดให้ได้เหตุผล
วจนักขโม - ทนต่อถ้อยคำ
คัมภีร์รัญจะ กะถัง กัตตา - แถลงเรื่องล้ำลึกได้
โน จัฏฐาเน นิโยชะเย - ไม่ชักนำไปในอาหาร
2.เสริมความรักความเป็นครู
1.ยึดหลักอิทธิบาท 4
2.อานิสงส์ของความเป็นครู
อานิสงส์ที่ครูให้แก่โลก
อานิสงส์ที่ครูพึงได้รับจากความเป็นครู
3.อาชีพครูเป็นงานวิชาชีพหรืออาชีพชั้นสูง
10.ร่วมมือประสานกับชุมชน
1.การนำโรงเรียนออกสู่ชุมชน
ให้บริการแก่ชุมชน
ออกเยี่ยมชุมชนโดย ผู้บริหารและคณะ
ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบนโยบาย เป้าหมาย และกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนทุกระยะด้วยวิธีการต่างๆ
2.การนำชุมชนเข้าสู่โรงเรียน
เชิญวิทยากรชาวบ้านมาให้ความรู้แก่ครูอาจารย์และนักเรียน
จัดการแข่งขันกีฬาระหว่างครูและผู้ปกครอง
เชิญผู้ปกครองมาร่วมพบปะสังสรรค์ในบางโอกาส
3.เทคนิคการประเมินตนเองของครู
ความสำคัญของการประเมินตนเองของครู
แนวคิดสำหรับการประเมินตนเองของครู
ข้อจำกัดในการประเมินตนเองของครู
ประโยชน์ของการประเมินตนเองของครู
ลำดับขั้นตอนในการประเมินตนเองของครู
6.ตามติดสภาวการณ์บ้านเมือง
บุคคลที่เป็นครูย่อมชื่อว่าเป็น “พลเมือง” ของสังคม เพราะเป็นบุคคลที่มีความรู้ เป็นผู้นำชุมชนทางด้านปัญญา ด้วยเหตุนี้การติดตามสภาวการณ์บ้านเมือง ซึ่งเป็นภาระที่ครูจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะโลกปัจจุบันเป็นโลกแห่งกันเข้าถึง เป็นโลกที่ไร้พรมแดนที่เรียกกันว่า “โลกาภิวัตน์”
8.ดำรงอยู่อย่างผู้ทรงศีล
1.ศีลในระดับธรรม
ข้อแนะนำสั่งสอนหรือหลักความประพฤติที่แสดงและบัญญัติไปตามกฎธรรมดาแห่งความดีความชั่วที่เรียกว่ากฎแห่งกรรม
2.ศีลในระดับวินัย
ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ หรือกฎหมายต่างๆ ที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ชนในหมู่นั้นๆ ประพฤติปฏิบัติเพื่อความสงบสุข ตามลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
บทที่ 10
นางสาวเจนจิรา พลศรีดา รหัส 602 ห้อง 6 รุ่นที่ 24