Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน
Hematology
หน้าที่ของเลือด
การขนส่ง (Transportation)
Nutrient (สารอาหาร)
Gaseous
Waste product (ของเสีย)
Hormone
การควบคุม (Regulation)
pH ความเป็นกรดด่างของร่างกาย
Temperature
Water balance น้ำในร่างกาย
การป้องกัน (Protection)
Blood loss การเสียเลือด
Foreign body สิ่งแปลกปลอม
Blood components
เลือด (Blood) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) ที่มีลักษณะเป็นของเหลวไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือด
ประกอบด้วย
•Plasma เป็นของเหลวที่เป็นตัวกลางให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่ คิดเป็น 55 % ของเลือด
•Corpuscle or Formed elements คือสัดส่วนที่เป็นตัวเซลล์แขวนลอยไหลเวียนในหลอดเลือดทั่วร่างกายคิดเป็น 45 % ของเลือด ได้แก่
-เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell)
-เม็ดเลือดขาว ( White blood cell)
-เกล็ดเลือดหรือทรอมโบไซต์ (Thrombocytes หรือ Platelets)
Hemostasis กลไกการห้ามเลือด
1) หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstriction) เมื่อเกิดบาดแผล serotonin จาก platelets จะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
2)การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด (Platelet aggregation) คือเซลล์ที่ได้รับความเสียหาย และplateles จะปล่อยสาร ADP
(adenosine diphosphate) ออกมาทําให้ platelets เกิดการเปลี่ยนรูปร่าง และ aggregate อุดหลอดเลือดที่เกิดบาดแผล
3) การแข็งตัวของเลือด (Coagulation, clot) เกิดจากปฏิกิริยาของ platelets สารต่างๆ
ในพลาสมา และสารจากเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล
Anemia ภาวะโลหิตจาง
ภาวะที่เม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดลดลงกว่าปกติ มีอาการแสดงคือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ซีด ใจสั่น ใจเต้นผิดจังหวะ หายใจตื้นเร็ว แน่นอก เวียนศีรษะ ปลายมือปลายเท้าเย็น ปวดศีรษะ
สาเหตุ ของ Anemia มี 3 สาเหตุคือ
o การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น การขาดโฟเลท การขาดวิตามินบี 12 ขาดธาตุเหล็ก
o เม็ดเลือดแดงถูกทำลายมาก
o Blood loss เสียเลือด เช่น Thalassemia เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกิดจากการขาดหายไปบางส่วนหรือลดการสร้างสาย globin ซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน HbA (α2β2)
POLYCYTHEMIA ความเข้มข้นเม็ดเลือดแดงสูง
การเพิ่มขึ้นของเม็ดเลือดแดงแบ่งได้ 2 ลักษณะ
•Relative polycythemia เนื่องจากมีปริมาณพลาสมาลดลง ทําให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากขึ้น
•Absolute polycythemia ปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นย่างแท้จริง จาก Hypoxemia /Hypoxia, Chronic lung disease, ความผิดปกติของการจับออกซิเจนแน่นเกินไปของฮีโมโกลบิน
PURPURA การเกิดจ้ำเลือดบริเวณผิวหนัง
Purpura
Immunologic thrombocytopenic purpura
Approach to bleeding
Arrhythmia ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
•หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที และหัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที
การบีบตัวหัวใจผิดปกติ
สามารถรู้ได้ด้วยการคลำชีพจร
•Tachycardia หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที เป็นแบบ Regular หรือ Irregular
•Bradycardia หัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาทีเป็นแบบ Regular หรือ Irregular
Examination of arterial pulse
ข้อมูที่ควรตรวจ
-Points
-Rate
-Rhythm
-Amplitude
-Contour : pulse wave
การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างหัวใจ
-ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น ผนังงกั้นห้องหัวใจรั่ว
-ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจหนา
-ความผิดปกติของลิÊนหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
ความดันโลหิตสูง (High blood pressure)
ปัจจัยที่ต้องเฝ้าระวัง
-ชา กาแฟ การสูบบุหรี่ ปวดฉี่ ท่านั่ง เครียดกังวล
-การจัดท่าวัดความดันในท่าที่เหมาะสม
-วัดความดันอย่างน้อย 3 ครั้ง ห่างกัน 1-2 นาที
-ถ้ามีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะควรใช้ manual auscultatory method
-ควรเลือกขนาด cuff ให้เหมาะสม และอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
การปรับพฤติกรรม
-จํากัดเกลือ น้อยกว่า 5 กรัมต่อวัน
-จํากัดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
-เพิ่มการรับประทานอาหารผัก ผลไม้ ปลา ถั่วและน้ำมันที่เป็น unsaturation fatty acids
-ลดการรับประทานเนื้ อแดง
-ออกกําลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที 5-7วันต่อสัปดาห์ งดบุหรี่