Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case analysis, = - Coggle Diagram
Case analysis
-
- มีความรู้ไม่เพียงพอในการปฎิบัติตัวเมื่อมีอาการปวดหลัง
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการปวดหลัง เมื่ออายุครรภ์และน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นร่างกายจะมีการปรับตัวของกระดูกสันหลังส่วนเอวเพื่อรักษาสภาวะสมดุลของร่างกายไว้ไม่ให้ล้ม กล้ามเนื้อและข้อต่อทางด้านหลังต้องหดตัวต้านไว้ เพื่อถ่วงดุลจุดศูนย์กลางของร่างกาย ทำให้เกิดการแอ่นหลังมากขึ้นส่งผลให้ขณะตั้งครรภ์มีอาการปวดหลังส่วนล่าง
-
- บริหารร่างกายท่าการบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและหลัง (Pelvic rocking) ประโยชน์: ช่วยบรรเทาอาการปวดหลัง
-
-
- ให้มาตรวจตามแพทย์นัดเพื่อติดตามอาการ หากมีอาการปวดหลังมากแพทย์อาจจะมีการสั่งยาให้เพื่อบรรเทาอาการไม่สุขสบาย
-
-
- มารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดคลอดเนื่องจากขาดความรู้
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
4.เมื่อเริ่มรู้สึกเจ็บครรภ์คลอดก่อนวันนัดให้มาโรงพยาบาลทันทีเพราะเมื่อถุงน้ำคร่ำแตกอาจเกิดสายสะดือพลัดต่ำได้
การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์คลายความวิตกกังวล สีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส และสามารถบอกวิธีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องได้
- มีความรู้ไม่เพียงพอในการปฏิบัติตัวเมื่อมีภาวะท้องผูก
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้มารดาทราบถึงสาเหตุของอาการท้องผูก เนื่องจากการเพิ่มของฮอร์โมน progesterone ทำให้กล้ามเนื้อ เรียบรวมทั้งลำไส้ส่วนล่างมีการคลายตัว การเคลื่อนไหวของลำไส้ช้าลงทำให้เกิดอาการท้องผูก
2.แนะนําฝึกขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา และให้เวลาในการขับถ่ายอุจจาระให้เพียงพอ จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกอยากขับถ่ายโดยการฝากขับถ่ายอุจจาระให้เป็นนิสัย (Toilet Activities)
3.แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีกากใยจากผักและผลไม้ เช่น ธัญพืช ผักใบเขียว รําข้าว ถั่วแห้ง ขนมปังโฮลวีท เพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
4.แนะนําให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว เพื่อช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหลของลำไส้และส่งผลให้อุจจาระนิ่ม ทำให้ขับถ่ายง่ายขึ้น
5.ส่งเสริมให้มีการออกกําลังกาย เนื่องจากการออกกําลังกายจะมีการหลั่งของฮอร์โมนเอนโดฟินและโมทิลิน ทำให้ลําไส้มี การบีบตัวมากขึ้น
การประเมินผล
มารดามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการท้องผูก และสามารถบอกวิธีปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการท้องผูกได้ถูกต้อง
- มารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึก และเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย เพื่อให้ได้ทราบข้อมูลที่สงสัยหรือเป็นกังวล ลดความวิตกกังวลของมารดา
- ให้ข้อมูลแก่มารดาเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์ เช่น ขณะตรวจครรภ์ได้ยินเสียงอัตราการเต้นหัวใจของทารกในครรภ์สม่ำเสมอ และผล EFW ทารก บ่งบอกทารกมีโอกาสสุขภาพดี เพื่อลดความวิตกกังวลของมารดา
- แนะนำการปฏิบัติตัวของมารดาเพื่อส่งเสริมสุขภาพของทารกในครรภ์
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ และรับประทานอาหารพวกโปรตีนเพิ่มมากขึ้น เพื่อช่วยในการสร้างอวัยวะต่าง ๆของทารกในครรภ์ได้สมบูรณ์
งดดื่มแอลกอฮอล์ในขณะตั้งครรภ์ เพราะจะทำให้ทารกมีน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์ มีปัญหาด้านความคิด สติปัญญา และมีลักษณะทางร่างกายที่ผิดปกติ
นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับของหลอดเลือด Inferior vena cava เป็นการเพิ่มการไหลเวียนของเลือดจากมารดาไปยังรก ทำให้ทารกได้รับออกซิเจนและสารอาหารที่เพียงพอ
-
- แนะนำมารดาให้สังเกตและบันทึกการดิ้นของทารกในครรภ์ โดยทารกในครรภ์ควรดิ้นมากกว่า 3-4 ครั้ง ใน 1ชั่วโมง และมากกว่า 10 ครั้ง ใน 1 วัน ถ้าลูกดิ้นน้อยลงให้รีบมาพบแพทย์ทันที
- แนะนำให้มารดามาตรวจครรภ์ตามนัด และสังเกตอาการผิดปกติ เช่น เริ่มเจ็บครรภ์, มีน้ำเดิน (ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตก) คือ มีน้ำใส ๆ ออกจากช่องคลอด อาจเกิดอันตรายจากภาวะสายสะดือพลัดต่ำ (prolapsed cord) หรืออาจเกิดการติดเชื้อได้ หรือมีเลือดออกทางช่องคลอด อาจเกิดจากภาวะรกเกาะต่ำหรือรก ลอกตัวก่อนกำหนด ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
-
- ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโอกาสที่จะเกิดภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ซึ่งเกิดได้จากปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ครรภ์แรก ครรภ์แฝด อายุ<19 ปี หรือ>35ปี มีโรคประจำตัว ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไต โรคอ้วน
- แนะนำผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อมีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะเลือดไม่แข็งตัว ภาวะหัวใจขาดเลือด/ล้มเหลว ภาวะไตวายเฉียบพลัน ภาวะปอดบวมน้ำ ภาวะเกร็ดเลือดต่ำ และอันตรายจากการชัก
-
- แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อมีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-
รับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารครบหมู่อย่างเพียงพอและอาหารมีกากใย ไม่ควรรับประทานอาหารเค็มจัด แต่ไม่จำเป็นต้องจำกัดเกลือ
- แนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ทันที เช่น หน้ามืด ปวดศรีษะ ตาพร่ามัว คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นลิ้นปี่ บวม และปัสสาวะออกน้อย
การประเมินผล
มีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์สามารถบอกการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
- มารดามีความรู้ไม่เพียงพอในการคุมกำเนิด
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ข้อมูลมารดาตั้งครรภ์เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์เมื่อมีอายุมาก
ผลกระทบต่อมารดา
GDM, PIT, Anemia, Placenta Previa, Abruptio Placentae, Dystocia
ผลกระทบต่อทารก
Preterm, Low Birth Weight
- ให้ข้อมูลมารดาเกี่ยวกับวิธีการคุมกำเนิดด้วยชนิด ชั่วคราว และถาวร
ชั่วคราว
-
-
ข้อห้าม
สตรีที่มีการทำงานของตับผิดปกติ มะเร็งเต้านม เลือดออกทางช่องช่องลอดที่ยังไม่ทราบสาเหตุ ผู้ที่สูบบุหรี่และมีอายุมากกว่า 35 ปี ไขมันในเลือดสูง และความดันโลหิตสูงที่ยังควบคุมไม่ได้
-
ข้อบ่งชี้
มีบุตรที่มีชีวิตอย่างน้อย 1 คน ต้องการคุมกำเนิดระยะยาว ต้องการเว้นระยะการมีบุตร สตรีติดเชื้อ HIV และมีอายุต่ำกว่า 20 ปี
-
-
-
-
-
-
- เปิดโอกาสให้มารดาซักถามข้อสงสัยที่เกี่ยวกับวิธีการคุมกำเนิด
- เปิดโอกาสให้มารดาตัดสินใจเลือกวิธีการคุมกำเนิดอีกครั้ง
-
-
-
-
-
Dx. G2P1 GA 37 wk. by U/S Term pregnancy c Elderly Gravidarum (Advanced maternal age) c Transverse line c Shoulder presentation c Malpresentation c SGA c Anemia
หญิงไทย อายุ 41 ปี รูปร่างสมส่วน มีสีหน้ายิ้มแย้มขณะพูดคุย สวมชุดคลุมท้องหลวมๆ สวมรองเท้าส้นเตี้ย ขณะเดินหน้าท้องโย้ไปทางด้านหน้า ใช้มือจับบริเวณด้านหลัง แสดงสีหน้าไม่สุขสบาย
ผลการตรวจครรภ์ ทารกอยู่ในท่า Rt.ScA FHS = 150 bpm, Estimate Fetal Weight 2,250 gms.
-