Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประมวลความรู้ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร 6 - Coggle Diagram
ประมวลความรู้ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร
การประเมินหลักสูตร
จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร
เพื่อตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่
เพื่อตัดสินว่าการบริหารงานด้านวิชาการและบริหารงานด้านหลักสูตร
เพื่ออธิบายและพิจารณาว่าลักษณะของส่วนประกอบต่างๆ
เพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตร
เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตร
เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตร
เพื่อช่วยในการตัดสินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไป
ระยะเวลาในการประเมินหลักสูตร
การประเมินระหว่างดำเนินการ
การประเมินสรุป
การประเมินเพื่อวินิจฉัย
ความสำคัญของการประเมินหลักสูตร
เป็นข้อมูลแก่ผู้กำหนดนโยบาย
เป็นข้อมูลแก่ผู้สอน
ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นวางแผนออกแบบการประเมินผล
ขั้นรายงานผลการประเมิน
ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข้อควรคำนึง
นำไปใช้ได้ ตั้งอยู่บนรากฐานของความจริง
มีความสมดุลระหว่างผู้เรียนและสังคม
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรระดับชั้น
มีความสมดุลระหว่างความรู้และทักษะ
สนองความต้องการของผู้เรียน
ใช้ภาษาที่ชัดเจน
มุ่งสนองความต้องการและแก้ปัญหาสังคม
มีคุณค่าต่อผู้เรียน
ส่งเสริมค่านิยมของสังคม
พัฒนาผู้เรียนด้านสติปัญญา ทักษะ เจตคติ
สอดคล้องกับปรัชญา
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
หลักการในการร่าง
บอกถึงความต้องการอย่างชัดเจน
เป็นที่ยอมรับของทุกท่านที่เกี่ยวข้อง
บอกถึงความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ซึ่งจะเกิดแก่ผู้เรียน
มีความถูกต้องแน่นอน
กะทัดรัดไม่เยิ่นเย้อ
ความสำคัญ
เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีวัดและประเมินผล
เป็นแนวทางในการก าหนดเนื้อหาสาระ
เป็นแนวทางในการบริหารหลักสูตรในระดับส่วนกลาง
และท้องถิ่น
เป็นดัชนีชี้แนวโน้มของลักษณะของสังคมในอนาคต
ประเภทของจุดมุ่งหมาย
ด้านพุทธิพิสัย
ระดับการนำไปใช้
ระดับการวิเคราะห์
ระดับความเข้าใจ
ระดับการสังเคราะห์
ระดับความรู้ความจำ
ระดับการประเมินค่า
ด้านจิตพิสัย
การสร้างคุณค่า
การจัดระบบคุณค่า
การตอบสนอง
การสร้างลักษณะนิสัย
การรับรู้
ด้านทักษะพิสัย
การรับรู้
การเตรียมพร้อม
การตอบสนองตาม
แนวทางที่กำหนดให้
ความสามารถ
ด้านกลไก
การตอบสนอง
ที่ซับซ้อน
การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติศาสตร์
อิทธิพลของภาษาเขียนต่อหลักสูตร
หลักธรรมหรือคำสั่งสอนของศาสนาและลัทธิต่างๆ
มีประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละชุมชนแต่ละประเทศ
การจัดการศึกษาในระยะแรกมุ่งผลิตคนเข้ารับราชการ
การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาเดิมเน้นการเตรียมเพื่อเรียนต่อมหาวิทยาลัย
การควบคุมกิจกรรมของนักเรียน
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
การใช้ทรัพยากร
การพัฒนาอาชีพ
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทย
การพัฒนากำลังคน
การลงทุนทางการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษา
3) พัฒนาการและความสัมฤทธิผลทางสติปัญญา
4) พัฒนาการทางด้านอารมณ์
2) วุฒิภาวะทางกาย
5) พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
1) พื้นฐานทางชีววิทยาของความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่งผลให้สื่อสารที่เจริญรุดหน้าไม่หยุดยั้งประกอบกับกระแสโลกาภิวัตน์
ส่งผลให้เกิดนวัตกรรมทางหลักสูตรและการสอนใหม่ๆ
ส่งผลให้เกิดการค้นพบองค์ความรู้ ใหม่ๆ
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาสาขาพิพัฒนนิยม
มุ่งให้การศึกษาทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพและสติปัญญา
ปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรูปนิยม
มุ่งให้การศึกษาเป็นเครื่องมือ ปรับปรุง พัฒนาและสร้างสรรค์สังคม
ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
มุ่งให้ผู้เรียนตระหนักความเป็นตัวเอง
พัฒนาสติปัญญาและมีเหตุผล
ปรัชญาอัตถิภาวะนิยม
มุ่งให้เด็กมีเสรีภาพ โดยไม่ก้าวก่ายเสรีภาพของผู้อื่นและพัฒนาตนเอง
ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
มุ่งให้การศึกษาที่เป็นเนื้อหาถ่าย
ทอดมรดกทางวัฒนธรรมและค่านิยม
ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ความต้องการของผู้เรียน
ความสนใจของผู้เรียน
สภาพของผู้เรียน
การนำหลักสูตรไปใช้
การจัดการเรียนรู้
การบริหารและการบริการหลักสูตร
การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาของไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
สมรรณนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทำงาน
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
จุดประสงค์
มีความรู้อันเป็นสากล
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ
หลักการ
เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ
เพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนมี
สนองการกระจายอำนาจ
โครงสร้างยึดหยุ่น
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560
ความสำคัญ
เป็นเกณฑ์มาตรฐานทางการศึกษาปฐมวัย
เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมสร้างเอกภาพของชาติ
เป็นเอกสารของทางราชการ
หลักการ
ยึดเด็กเป็นสำคัญ
เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ
การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
บูรณาการผ่านการเล่นและประสบการณ์ที่สำคัญ
สร้างความรู้ความเข้าใจ
ประสานความร่วมมือทุกฝ่าย
จุดมุ่งหมาย
ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี
สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม
มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มีทักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสารและการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
การกำหนดเนื้อหาและประสบการณ์ในหลักสูตร
ลักษณะของเนื้อหาที่ดี
ความต่อเนื่อง
ความเหมาะสม
การเรียงลำดับของเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้
ความสมดุล
ขอบเขตหรือขอบข่ายของเนื้อหา
ความเชื่อมโยง
เกณฑ์พิจารณาในการเลือกเนื้อหา
ความสำคัญ
ความสนใจของนักเรียน
ความถูกต้อง
สามารถเรียนรู้ได้
แนวคิดในการเลือกเนื้อหา
ความต้องการของสังคม
ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
เนื้อหาหรือความรู้
แนวคิดในการพัฒนามนุษย์
หลักในการจัดเนื้อหา
จัดลำดับเนื้อหาโดยยึดหลักทางตรรกะ
จัดเนื้อหาวิชาให้มีความต่อเนื่อง
จัดเนื้อหาวิชาให้มีความสัมพันธ์กัน
ประเภทของเนื้อหา
เนื้อหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน
เนื้อหาที่เกี่ยวกับทักษะพิสัย
เนื้อหาที่มีโครงสร้างแน่นอน
ประสบการณ์การเรียนรู้
ประสบการณ์ตรง
ประสบการณ์รอง