Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
กระบวนทัศน์เก่า
มองเจ้าหน้าที่เป็นทรัพยากร
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูป ปัจเจกบุคคล
จัดองค์การในรูปแนวตั้ง
มุ่งเน้นภายในมองที่นาย
องค์การจัดตามสายงาน
ใช้ IT เพื่อควบคุมเจ้าหน้าที่
ประเมินผลเจ้าหน้าที่เพื่อวัดผลงาน
กระบวนทัศน์ใหม่
มองเจ้าที่เป็นคน
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูปทีมงาน
จัดองค์การในรูปแนวนอน
มุ่งเน้นภายนอกมองที่ลูกค้าหรือเกษตรกร
องค๋การจัดการกระบวนการทำงาน
ประเมินผลเจ้าหน้าที่เพื่อพัฒนา
ใชั ITสนับสนุนเจ้าหน้าที่
ถือประสิทธิผลเป็นหลัก
ถือประสิธิภาพเป็นหลัก
ทัศนะพื้นฐาน
แบบแผนการคิดและปฏิบัติ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2520-2529)
ฝึกอบรมการเยี่ยมเยียน
มีเกษตรตำบล
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2530-2534)
พัฒนาเกษตรกรรายย่อย เน้นเขตยากจน
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ระยะที่1(พ.ศง2510-2519)
นำร่องการส่งเสริมในเขตชลประทาน
จัดระบบการถ่ายทอดแบบยุคลวิถี
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ระยะที่ 4 (พ.ศ. 2535-2539)
สนับสนุนแผนการผลิต
ปรับโครงสร้างและระบบการผลิต
ยุคก่อนจัดระบบส่งเสริมการเกษตร
(ก่อน พ.ศ 2510)
กระจายอยู่ตามกรมต่างๆ
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 5 (พ.ศ. 2540-2554)
น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
จัดตั้ง ศบกต.
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 6 (พ.ศ. 2555-2560)
MRCF, ศพก, แปลงใหญ่
ยุทธศาสตร์และแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษร
ด้านการเพิ่มมูลค่าผลผลิต
ด้านการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ด้านการเข้าถึงนวตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ด้านการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปิดทองหลังพระ
ด้านการส่งเสริมและการรวมกลุ่มการผลิตทางการเกษตร
ด้านการสนับสนุนแผนแม่บท
ด้านระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความต้องการของตลาด
ด้านการพัฒนาอุปสงค์ อุปทาน
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านการสร้างบุคลากร
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพะัฒนาการเกษตร
การพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรมในมิติต่างๆ
การพัฒนาแบบบูรณาการและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของเกษตรกร
การสร้างเบญจภาคี และพัฒนาเบญจขันธ์ของชุมชนเกษตรกรรม
การพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง
การเสริมสร้างศักยภาพการพึ่งตนเองของเกษตรกรรมและชุมชนในระดับต่างๆ
ยุทธศาสตร์
การพัฒนาและคุ้มครองทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและความเข้มแข็งขององค์กรเกษตรกร
การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคการเกษตรและการสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการกองทุนการเกษตร
การปรับปรุงและพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรแลพัฒนาระบบบริหารงานองค์กรส่งเสริมการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข็งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีนวตกรรม
การบูรณาการ การประสานงานและการสร้างกลไกร่วมภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และภาคการเกษตร ในการส่งเสริมการพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อประสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเกษตร
ปัจจํย ทิศทางการส่งเสริม
ทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร
ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพยั่งยืน
ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร
ปัจจัยภายนอกประเทศ
เศรษฐกิจโลก
สังคมโลก
สิ่งแวดล้อม
การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความมั่นคงโลก
ปัจจัยภายในประเทศ
การเติบโตของเมือง เศรษฐกิจ
ความมั่นคง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความร่วมมือ การเชื่อมโยงภายในประเทศ เพื่อการพัฒนา
สังคมไทย
การบริหารจัดการภาครัฐ
เศรษฐกิจไทย
ความอ่อนแอของสังคมไทย