Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของโรคไต Kidney urinary bladder system (KUB System) -…
พยาธิสรีรวิทยาของโรคไต
Kidney urinary bladder system (KUB System)
โครงสร้างของไต
ไตมี1คู่อยู่บริเวณช่องท้องด้านหลัง (reteoperitoneal) ของกระดูกสันหลัง ขอบบนตรงกับ T12 ขอบล่างตรงกับ L3 มีความยาวประมาณ 11-12 cm ความกว้าง 5.0-7.5 cm ความหนา 2.5-3.0 cm
Hilum : มีเส้นเลือด 3 เส้น คือ
Renal artery : เส้นเลือดแดง 1 เส้นออกจาก aorta ไปเลี้ยงที่ไตเข้าสู่ขั้วไต
Renal vein : เส้นเลือดที่ออกจากไตต่อเข้ากับ Inferior vena cava
Renal pelvis : กรวยไต
แบ่งเป็น 2 ชั้น
1.Renal cortex ไตชั้นนอก
2.Renal medulla ไตชั้นใน
Collecting system มี 2 ส่วน
Renal calyx
Renal pelvis
Nerve
Sympathetic nerve
Parasympathetic nerve
ประกอบด้วยโครงสร้างดังนี้
Glomerulus : เส้นเลือดฝอยเล็กๆที่เป็นจุดเริ่มต้นของ Nephron ทำงานร่วมกับ Mesangial cell และ Bowman’s capsule
Tubule ส่วนของท่อไต
2.1 Proximal convoluted tubule ส่วนที่ขดในตอนต้น
2.2 Loop of henle ส่วนโค้งรูปตัวยู
2.3 Distal convoluted tubule ส่วนที่ขดในตอนปลาย
2.4 Collecting duct ส่วนท่อท้าย
หน้าที่ของไต Function of kidney
1 .Maintanance of normal body fluid composition ควบคุมสารน้ำและความเข้มข้นของน้ำและเกลือแร่
Excretion of waste products of matabolism and excretion of foreign substance กำจัดของเสียที่สร้างโดยตับ
Regulation of blood pressure ควบคุมความดันเลือด
Production of hormones สร้างฮอร์โมน
ACUTE KIDNEY INJURY (AKI) ภาวะไตวายเฉียบพลัน
สาเหตุจากBilateral ureteric obstruction มีสิ่งที่ไปอุดกั้นทำให้ปัสสาวะไหลออกไม่ได้ เช่น CA cervix, stone, cancer เป็นต้น
อาการคือDysuria, gross hematuria, abdominal pain, anuria เป็นต้น
การรักษา วินิจฉัยให้โดยเร็ว แก้ไขภาวะ Pre-renal และจัดการ Hemodynamic ให้ Stable ป้องกันไม่ให้เกิดการทำลายไต
ประเภทของไตวายเฉียบพลัน
1.AIN : Acute interstitial nephritis
2.AGN : Acute glomerulonephritis
3.ATN : Acute tubular necrosis
CHRONIC KIDNEY DISEASE (CKD) ภาวะไตวายเรื้อรัง
เกิดจากการทำงานผิดปกติของไตนานมากกว่า 3 เดือน มีโปรตีนออกมาในปัสสาวะ มีเม็ดเลือดขาวหรือเม็ดเลือดแดงออกมาในปัสสาวะ หรือมีโครงสร้างของไตผิดปกติไป มีทั้งหมด 5 ระยะ
GLOMERULAR DISEASE โรคที่เกิดจากความผิดปกติของโกลเมอรูลาร์
แบ่งออกเป็น Primary glomerular disease และ Secondary glomerular disease
แบ่งตามกลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของ glomerular ที่สำคัญหลักๆได้ดังนี้
1.NEPHROTIC SYNDROME
2.NEPHRITIC SYNDROME
ELECTROLYTE ABNORMALITY ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ
การควบคุมสมดุลโซเดียมในร่างกาย
1.Hyponatremia ร่างกายมี Sodium ต่ำ
2.Hypernatremia ร่างกายมี Sodium สูง
การควบคุมสมดุลโพแทสเซียมในร่างกาย
1.Hypokalemia ร่างกายมีโพแทสเซียมต่ำ
ACID-BASE ABNORMALITY ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
1.Metabolic acidosis
ภาวะที่ร่างกายเป็นกรด โดยมีค่า pH ต่ำกว่า 7.35 และไบคาร์บอเนตต่ำกว่า 24 mmol/L ทำให้เกิดผลกระทบต่อการทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด และการทำงานของเอนไซม์
Metabolic alkalosis
ภาวะที่ร่างกายเป็นด่าง โดยมีค่า pH สูงกว่า 7.45 และไบคาร์บอเนตสูงกว่า 24 mmol/L เกิดจากการที่ร่างกายสร้างด่างมากแลขับกรดออกมาก สาเหตุจากความดันโลหิตสูง