Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 พยาธิสภาพต่อร่างกายทั่วไป, นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38 …
บทที่ 3
พยาธิสภาพต่อร่างกายทั่วไป
Inflammation and Healing
Healing
Regeneration
การงอกหรือการสร้างใหม่
Fibrosis
Angiogenesis การสร้างหลอดเลือดใหม่
Fibroblast
Extracellular fluid (collagen)
Remodeling
Wound Healing
การสมานแผล
Inflammation : การอักเสบ
Acute Inflammation
การอักเสบเฉียบพลัน
Permeability มีสารซึมออกนอกหลอดเลือด
RBC Concentration
Vasodilatation หลอดเลือดขยายตัว
Inflammatory cell
Chronic Inflammation
การอักเสบเรื้อรัง
Infection การติดเชื้้อ
Prolong exposure to injury สัมพันธ์กับการอักเสบตลอดเวลา
Autoimmune disease แพ้ภูมิตัวเอง
Immune System
ลักษณะทั่วไปของระบบภูมิคุ้มกัน
2.Specific defense mechanism
Third line :
Lymphocyte, Antibody
Humoral - Ag จับ Ab
Cell-mediated
Lymphocyte - 2 ชนิด
B cell
– Outside
T cell
4 Types
Cytotoxic (killer) T cell
Helper T cells
Momory T cells
Supressor T cells
HC 2 Class
MHC Class II
- กระตุ้น Helper T cells / CD4
MHC Class I
- กระตุ้น Cytotoxic T cell / CD8
1.Non-specific defense mechanism
First line :
ผิวหนัง (Skin) , เยื่อบุ (Mucous membrane), สารคัดหลั่ง
(Secretion), น้ำลาย น้ำตา (mucous), Lysozyme, Gastric mucosa
Second line : 3 ด่านย่อย ๆ
2.Antimicrobial protein
3.Inflammatory response (ภาวะอักเสบ)
1.Phagocytosis
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Immunodeficiency disease
2.CMI ; Cell mediated immunity
3.Congenital immunodeficiency
1.HMI ; Humoral mediated immunity
4.Acquired immunodeficiency
ความผิดปกติของทั้ง HMI และ CMI
SLE
การปลูกถ่ายอวัยวะ (Transplantation)
HIV
Congenital immunodeficiency
Innate immunity
Adaptive immunity
Immunology memory
1. Primary immune response
ร่างกายเจอ Ag เชื้อ ครั้งแรก
2. Secondary immune response
ร่างกายเจอ Ag
เชื้อครั้ง 2 – IgG เอาไว้ตรวจภูมิขึ้นสูง
Complement
1.Classical Pathway
2. Alternative Pathway
3. Active and Passive Immunity
ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity)
4 Type
Type II :
IgG-Mediated Cytotoxic Hypersensitivity
Type III :
Immune Complex-Mediated Hypersensitivity
Type I :
IgE-Mediated Hypersensitivity
Type IV :
Cell-Mediated Hypersensitivity - ปลูกถ่ายอวัยวะ
Neoplasm
NON-NEOPLASTIC
การเพิ่มจำนวนและขนาดของเซลล์
= Cellular adaptation
สิ่งกระตุ้น
Pathological process
– Inflammation
Physical change
- Hormonal change, Exercise
Dysplasia
ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลักษณะและการเรียงตัวคล้ายกับเซลล์มะเร็ง, ไม่บุกรุก
เนื้อเยื่อข้างเคียง
ผิดปกติไปมากเรียกว่า “premalignancy”
Anaplasia
เนื้องอกที่ lack of differentiation (anaplasia) เนื้องอกที่ “รูปร่าง”และ“การทำงานแตกต่างจากเซลล์ต้นกำเนิด
สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดมะเร็ง
รังสีก่อมะเร็ง : radiation
สารเคมีก่อมะเร็ง
Human Papilloma Virus (HPV)
Epstein-Barr virus (EBV)
Hepatitis B, C virus (HBV, HCV) - (HTLV-1)
อาการ
ตำแหน่งของเนื้องอก และผลกระทบ
ต่อเนื้อเยื่อ (อวัยวะ) ข้างเคียง
การสร้างฮอร์โมนจากเนื้องอก
การติดเชื้อแทรกซ้อน
เลือดออกซึ่งเป็นผลจากเนื้องอก
มีเนื้อตายจากการขาดเลือด
กลุ่มอาการอันเป็นผลจากปฏิกริยา
ของเนื้องอก Paraneoplastic syndrome
Hypercalcemia
Neuromyopathic paraneoplastic syndrome
Cushing syndrome
Acanthosis nigricans
Hypertrophic osteoarthropathy
Disseminated intravascular coagulation (DIC)
บัญญัติ 10
ป้องกันมะเร็ง
1.เลิกบุหรี่
2.ทานอาหารที่มีประโยชน์
3.ออกกำลังกาย
4.ตรวจและหาให้เจอตั้งแต่ระยะแรก
5.ดื่มแอลกอฮอล์แต่พอด
6.ประเมินความเสี่ยงจากประวัติครอบครัว
7.หลีกเลี่ยงแสงแดด
8.มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
9.นอนหลับให้สนิท
10.หลีกเลี่ยงการเผชิญกับสารเคมีอันตราย
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
CHROMOSOME
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Autosome
Sex chromosome
มี 2 chromatid - Homozygous chromosome หมายถึงโครโมโซมที่เป็น
Homologous กัน และมียีนที่เป็น Homozygous กันอย่างน้อย 1 คู่
พันธุกรรม
ถ่ายทอดผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ (อสุจิ) /แม่ (ไข่)
ถูกควบคุมโดย หน่วยควบคุมลักษณะ ที่เรียกว่า “ยีน”โดยยีนมีอยู่เป็นจำนวนมากในเซลล์ทุกเซลล์
DNA
Deoxyribonucleic acid
Nucleotide
หมู่ฟอสเฟต (Phosphate) = ฟอสฟอรัส และออกซิเจน
ไนโตรเจนเบส (Nitrogen base)
น้ำตาลเพนโทส (Deoxyribose sugar) คาร์บอน 5 อะตอม
GENE
ความผิดปกติของโครโมโซมร่างกาย
(autosome)
1.ผิดปกติที่จำนวน autosome
Edward’s syndrome
Patau’s syndrome
Down’s syndrome โครโมโซมแท่งที่ 21
2.ผิดปกติที่รูปร่าง autosome ได้แก่ Cri-du-chat syndrome
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
(sex chromosome)
การวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม
ประวัติสุขภาพของพ่อและแม่
ประวัติสุขภาพของครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจพันธุกรรม
Infection
Bacterial infection
Gram Positive Bacteria +
Staphylococcus sp.
แยกโดย coagulase test
coagulase test (+)
Staphylococcus aureus
ชักนำให้เกิดหนอง
สร้างสารพิษ lipase hemolysin protein A
coagulase test (-)
Staphylococcus epidermidis
ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ และติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ
Staphylococcus saprophyticus
ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ในวัยเจริญพันธุ์
Streptococcus sp.
แยกโดย Hemolysis test
β – Hemolysis
Streptococcus pyogenes (group A)
Streptococcus pyogenes (group B)
γ – Hemolysis
Enterococcus
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTI)
Peptostreptococcus
α – Hemolysis
Streptococcus pneumoniae
Streptococcus mutants
Gram Negative Bacteria -
Non-fermenter
เชื้อสำคัญ
Pseudomonas aeruginosa
ก่อโรคในโรงพยาบาล
Mycobacterium tuberculosis TB วัณโรค
Virus
Viral Respiratory infection
Corona virus
Rhinovirus หวัดธรรมดา
Influenza virus ไข้หวัดใหญ่
Respiratory syncytial virus (RSV) ปอดอักเสบ
Mumps virus คางทูม และสามารถทำให้อัณฑะอักเสบได้
Measles หัด
Rubella หัดเยอรมัน
Skin infection
Herpes simplex เริม : ที่ปาก (HSV-1), ที่อวัยวะเพศ (HSV-2)
Varicella zoster virus (HSV-3) อีกสุกอีใส
Herpes zoster งูสวัด
Molluscum contagiosum หูดข้าวสุก
Human papilloma (HPV) หูดหงอนไก่ HPV type 16,18 เป็นมะเร็งปากมดลูก
Viral infection
Hepatitis virus ตับอักเสบ
Hand - Food – Mouth disease: Enterovirus
Dengue hemorrhagic fever: DHF
HIV: AIDS
Opportunistic infection
Candidiasis
Parasite
Protozoa
Malaria
Plasmodium ssp.
Amebiasis
Entamoeba histolytica
Trichomonas vaginalis
Giardia lamblia
Roundworm
Strongiloides sterocolaris
Ascariasis
Hookworm
Enterobiasis
Trichuris trichiura
Trichinosis
Fluke
Opisthorchis viverrine
Fasciolopsiasis
Schistosomiasis
Tapeworm
Taenia solium
Taenia saginata
Diphyllobothrium latum
Drug resistance
สาเหตุ
1.เคยใช้ยาต้านแบคทีเรีย โดยไม่ทราบชื่อสามัญของยา
2.เคยอมยาอมที่ผสมยาต้านแบคทีเรีย
3.เคยแกะแคปซูลเอายาต้านแบคทีเรียไปโรยแผล
4.เคยใช้ยาต้านแบคทีเรีย โดยไม่ทราบชื่อสามัญของยา
กลไกการดื้อยา
1.Drug inactivation, modification
แบคทีเรียสร้างเอนไซม์มาทำลาย
หรือเปลี่ยนแปลงยาปฏิชีวนะ เช่น
Penicillinases
Beta-lactamases
Cephalosporinase
2.Alteration of target site
ยาผ่านเข้าผนังเซลล์ได้
มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง molecule
3.Bypass pathways
เชื้อสร้าง alternative target
เข้าไปจับกับ target ใหม่แทน
4.Decrease uptake
ปัจจัยเสี่ยงต่อการดื้อยา
1.อยู่ในโรงพยาบาลนาน
2.ได้ยาปฏิชีวนะมาก่อน
3.มีโรคประจำตัวที่รุนแรง
4.มีการใส่อุปกรณ์สายสวนต่างๆ
5.รักษาตัวอยู่ในหอผู้ป่วยความเสี่ยงสูง เช่น ICU
6.การอยู่ใกล้กับผู้ป่วยอื่นที่มีการติดเชื้ออยู่แล้ว
การแพร่กระจายของเชื้อ
1.โดยผ่านมือของบุคลากร
หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ (transient carriers)
2.สิ่งแวดล้อม
การป้องกัน
2.ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย
3.ให้ความรู้แก่ญาติและผู้ป่วย
1.แยกผู้ป่วยและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้กับผู้ป่วย
4.ใช้เครื่องป้องกันร่างกาย
นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 31