Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน - Coggle Diagram
บทที่9 พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน
Hematology
หน้าที่ของเลือด
-การขนส่ง (Transportation) Nutrient (สารอาหาร) Gaseous Waste product (ของเสีย) Hormone
-การควบคุม (Regulation) pH ความเป็นกรดด่างของร่างกาย Temperature Water balance น้ำในร่างกาย
-การป้องกัน (Protection)
Blood loss การเสียเลือด
Foreign body สิ่งแปลกปลอม
Blood components
เลือด (Blood) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน(Connective tissue) ที่มีลักษณะเป็นของเหลวไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือด ประกอบด้วย
• Plasma เป็นของเหลวที่เป็นตัวกลางให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่ คิดเป็น 55 % ของเลือด
• Corpuscle or Formed elements คือสัดส่วนที่เป็นตัวเซลล์แขวนลอยไหลเวียนในหลอดเลือดทั่วร่างกายคิดเป็น 45 % ของเลือด ได้แก่
-เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell)
- เม็ดเลือดขาว ( White blood cell)
-เกล็ดเลือดหรือทรอมโบไซต์(Thrombocytes หรือ Platelets)
Hemostasis กลไกการห้ามเลือด
1) หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstriction) เมืÉอเกิดบาดแผล serotonin จากplateletsจะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
2) การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด (Platelet aggregation) คือเซลล์ที่ได้รับความเสียหาย และplateles จะปล่อยสาร ADP (adenosine diphosphate) ออกมาทําให้plateletsเกิดการเปลี่ยนรูปร่างและaggregate อุดหลอดเลือดทีÉเกิดบาดแผล
3) การแข็งตัวของเลือด (Coagulation, clot) เกิดจากปฏิกิริยาของ platelets สารต่างๆ ในพลาสมา และสารจากเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล
Anemia ภาวะโลหิตจาง
ภาวะที่เม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดลดลงกว่าปกติ มีอาการแสดงคือ เหนื่อย อ่อนเพลีย ซีด ใจสั่น ใจเต้นผิดจังหวะ หายใจตื้นเร็ว แน่นอก เวียนศีรษะ ปลายมือปลายเท้าเย็น ปวดศีรษะ
สาเหตุ ของ Anemia มี 3 สาเหตุคือ
o การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น การขาดโฟเลท การขาดวิตามินบี 12 ขาดธาตุเหล็ก
o เม็ดเลือดแดงถูกทำลายมาก
o Blood loss เสียเลือด เช่น Thalassemia เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกิดจากการขาดหายไปบางส่วน หรือลดการสร้างสาย globin ซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน HbA (α2β2)
POLYCYTHEMIA ความเข้มข้นเม็ดเลือดแดงสูง
การเพิ่มขึ้นของเม็ดเลือดแดงแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
• Relative polycythemia เนื่องจากมีปริมาณพลาสมาลดลง ทําให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากขึ้น
• Absolute polycythemia ปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นย่างแท้จริง จาก Hypoxemia /Hypoxia, Chronic lung disease, ความผิดปกติของการจับออกซิเจนแน่นเกินไปของฮีโมโกลบิน
PURPURA การเกิดจ้ำเลือดบริเวณผิวหนัง
Purpura
Immunologic thrombocytopenic purpura
Approach to bleeding
Arrhythmia ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
• หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีและหัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที
การบีบตัวหัวใจผิดปกติ
สามารถรู้ได้ด้วยการคลำชีพจร
• Tachycardia หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที เป็นแบบ Regular หรือ Irregular
• Bradycardia หัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาทีเป็นแบบ Regular หรือ Irregular
Examination of arterial pulse
ข้อมูที่ควรตรวจ
-Points
Rate
-Rhythm
-Amplitude
Contour : pulse wave
การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างหัวใจ
-ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น ผนังงกั้นห้องหัวใจรั่ว
-ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจหนา
-ความผิดปกติของลิÊนหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
ความดันโลหิตสูง (High blood pressure)
ปัจจัยที่ต้องเฝ้าระวัง
-ชา กาแฟ การสูบบุหรี่ ปวดฉี่ ท่านั่ง เครียดกังวล
-การจัดท่าวัดความดันในท่าที่เหมาะสม
-วัดความดันอย่างน้อย 3 ครั้ง ห่างกัน 1-2 นาที
-ถ้ามีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะควรใช้ manual auscultatory method
ควรเลือกขนาด cuff ให้เหมาะสม และอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
การปรับพฤติกรรม
-จํากัดเกลือ น้อยกว่า 5 กรัมต่อวัน
-จํากัดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
-เพิ่มการรับประทานอาหารผัก ผลไม้ ปลา ถั่วและน้ำมันที่เป็น unsaturation fatty acids
-ลดการรับประทานเนื้ อแดง
-ออกกําลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที 5-7วันต่อสัปดาห์ งดบุหรี่