Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Roy Adaptation Model - Coggle Diagram
The Roy Adaptation Model
ประวัติผู้สร้างรูปแบบการ
ปรับตัวของรอย
ซีสเตอร์ แคลลีสตา รอย (Sister Callista Roy) เกิด 14 ตุลาคม 1939 ที่เมือง Los Angeles
ทำงานเป็นพยาบาลประจำแผนกเด็ก นักวิจัย และอาจารย์ มีความเชี่ยวชาญเรื่องทฤษฎีการพยาบาล สถานที่ทำงาน วิทยาลัยพยาบาลคอนเนล เมืองบลอสตัน
จบปริญญาโทสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
จบปริญญาโท-เอกสาขา Sociology จากมหาวิทยาลัย University of California เมือง Los Angeles
การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง กระบวนการและผลลัพธ์ของความคิดและความรู้สึกของบุคคลหรือหลายกลุ่มคนโดยใช้ความตระหนักรู้และเลือกที่จะสร้างการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม การปรับตัวนำไปสู่การมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิต และตายอย่างมีศักดิ์ศรี (Roy & Andrews, 1999)
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific assumption)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวัฒนธรรม (Cultural assumptions): ประสบการณ์ในวัฒนธรรมที่เฉพาะของสังคมนั้นมีอิทธิพลต่อรูปแบบการปรับตัว
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านปรัชญา (Philosophy assumption): บุคคลสร้างความตระหนัก การเกิดปัญญาหรือความรู้แจ้ง และความศรัทธา
มโนทัศน์หลักของรูปแบบการปรับตัวของรอย
1.สุขภาพ (Health
) หมายถึง สภาวะและกระบวนการดำรงชีวิตที่อยู่ร่วมกันของบุคคลและสิ่งแวดล้อมซึ่งสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่ร่วมกันของบุคคลและสิ่งแวดล้อม
3.บุคคล(Person)
คือ บุคคลเกิดกระบวนการเผชิญปัญหา(Coping process) ประกอบด้วย 2 กลไก
1) กลไกการควบคุม(Regulator subsystem)คือ การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นอย่างอัตโนมัติโดยผ่านช่องทางของระบบประสาท สารเคมี ระบบต่อมไร้ท่อ
2) กลไกการรู้คิด(Cognator subsystem)คือ การตอบสนองผ่านช่องทางของอารมณ์และการรู้คิดของบุคคล
รูปแบบการปรับตัว (Mode of adaptation)
การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiologic- physical mode) หมายถึง การปรับตัวตามความต้องการด้านสรีรวิทยา-กายภาพ โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
1) รูปแบบการปรับตัวหมวดชีวภาพ (Physiologic mode)
ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.การปรับตัวตามความต้องการพื้นฐาน 5 ประการ 1.1ออกซิเจน (Oxygenation) 1.2โภชนาการ (Nutrition) 1.3การขับถ่าย (Elimination) 1.4กิจกรรมและการพักผ่อนนอนหลับ (Activity and rest) 1.5การปกป้องคุ้มครอง (Protection)
2.การปรับตัวของร่างกายตามกระบวนการที่ซับซ้อน 4 ประการ 2.1การรับความรู้สึก (Senses) 2.2สารน้ำและอิเล็กโทรลัยท์ (Fluid and electrolytes) 2.3การทำหน้าที่ของระบบประสาท (Neurologic function) 2.4การทำหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine function)
2) รูปแบบการปรับตัวหมวดกายภาพ (Physical mode)สำหรับกลุ่มคน โดยการ
ปรับตัวด้านนี้สัมพันธ์กับแหล่งปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode) เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านภาพลักษณ์ ความคิด บุคลิกภาพ จิตวิญญาณ ความเชื่อรวมถึงศาสนาในช่วงเวลาหนึ่ง
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (The role function mode) แบ่งเป็น 3 ระดับ 3.1 บทบาทปฐมภูมิ (Primary role) บทบาทนี้ถูกกำหนดด้วยเพศ อายุ และระยะพัฒนาการ 3.2 บทบาททุติยภูมิ (Secondary role) เป็นบทบาทเกี่ยวข้องกับงานที่ต้องกระทำ 3.3บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role) เป็นบทบาทที่สัมพันธ์กับบทบาททุติยภูมิและเกี่ยวข้องกับเป้าหมายบางอย่างในชีวิตเป็นบทบาทชั่วคราวที่เกิดขึ้นในบางช่วงของชีวิตที่บุคคลเลือกอาจรวมถึงกิจกรรมบางอย่างที่เป็นงานอดิเรก
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย (Interdependence mode) การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้มี
มุมมองด้านความรัก การให้ และการมีคุณค่า เป็นการพึ่งพาระหว่างกัน
2.สิ่งแวดล้อม (Environment)
หมายถึงสภาพการณ์หรือสิ่งที่อยู่รอบๆ ที่มี
ความสัมพันธ์กับบุคคลและส่งผลต่อการพัฒนาและปรับพฤติกรรมของปัจเจกบุคคล ซึ่งสิ่งเร้า (Stimuli) หมายถึง สิ่งที่กระตุ้นให้บุคคลมีการตอบสนอง มาจากสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก
2) สิ่งเร้าร่วม (Contextual stimuli) หมายถึง สิ่งอื่นๆทั้งหมดซึ่งก่อให้เกิดผลเสริม กับผลของสิ่งเร้าตรง เป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวของมนุษย์ทั้ง ภายในและภายนอก
3) สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli) หมายถึง สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ ปรับตัวในสถานการณ์ขณะนั้นการส่งผลกระทบไม่ชัดเจนและไม่สามารถ สังเกตเห็นสิ่งเร้าแฝงนั้นได้ แต่มีอิทธิพลต่อการปรับตัว
1) สิ่งเร้าตรง (Focal stimuli) หมายถึง สิ่งกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก ส่งผล กระทบมากที่สุดและส่งผลทันทีต่อระบบการปรับตัวของบุคคล
4.การพยาบาล (Nursing)
หมายถึง การดูแลทุกระยะของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์โดยผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
ระดับการปรับตัว (Adaptation level) 3 ขั้นตอน
3) ขั้นบกพร่อง/อันตราย (Compromised level) เป็นภาวะที่กระบวนการชดเชยทำงานไม่เพียงพอที่จะจัดการกับสิ่งเร้าทำให้เกิดปัญหาในการปรับตัวเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
2) ขั้นต้องการชดเชย (Compensatory level) เป็นภาวะที่กระบวนการชีวิตปกติถูกรบกวนจากสิ่งเร้าภายนอกทำให้ต้องการการชดเชย
1) ขั้นปกติ (Integrated level) เป็นระดับที่กระบวนการชีวิตที่มีการปรับตัวต่อสิ่งเร้าต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน
การประยุกต์ใช้รูปแบบการปรับตัวของรอยกับการปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นที่ 5. การบำบัดทางการพยาบาล (Implement intervention) คือ เน้นทั้งสิ่งเร้าและกระบวนการเผชิญโดยการวางแผนกำหนดกิจกรรมในการส่งเสริมการปรับตัวด้วยการจัดการสิ่งเร้าจากนั้นนำไปลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่2. การประเมินสิ่งเร้า (Assessment of stimuli) คือประเมินสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดพฤติกรรรมนั้นๆและจัดกลุ่มตามชนิดของสิ่งเร้า 1)สิ่งเร้าตรง (Focal stimuli) 2) สิ่งเร้าร่วม (Contextual stimuli) 3) สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli)
ขั้นที่ 1. การประเมินพฤติกรรมการปรับตัว (Assessment of behavior) คือ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคลโดยใช้ทักษะการสัมภาษณ์และประเมินสิ่งที่สามารถวัดได้
การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiologic- physical mode)ในหมวดชีวภาพ(Physical mode) : 1.1 Oxygenation 1.2 Nutrition 1.3 Elimination 1.4 Activity and rest 1.5 Protection 1.6 Senses 1.7 Fluid and electrolyte 1.8 Neurological function 1.9 Endocrine function
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode) 2.1 ส่วนกายภาพ (physical self) 2.2 ภาพลักษณ์ (Body image)
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (The role function mode) 3.1 บทบาทปฐมภูมิ (Primary role) 3.2 บทบาททุติยภูมิ (Secondary role) 3.3 บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role)
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย (Interdependence mode)
ขั้นที่ 4. การกำหนดเป้าหมายการส่งเสริมการปรับตัว (Goals Setting: to promote adaptation) คือ เป็นข้อความที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่เป็นพฤติกรรมของการปรับตัวที่ต้องการให้เกิดขึ้นในทางบวก
ขั้นที่ 3. การกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis) ของรูปแบบการปรับตัวของรอย หมายถึง กระบวนการตัดสินใจกำหนดข้อความที่สื่อถึงสถานะการปรับตัวของบุคคลที่ระบุหรือบ่งชี้สถานะพฤติกรรมการปรับตัวร่วมกับสิ่งเร้าที่มีอิทธิพลมากที่สุด
ขั้นที่ 6. การประเมินผล (Evaluation) คือ การประเมินผลภายหลังจากที่พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลแล้วโดยประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคลตามเป้าหมายการปรับตัวที่ตั้งไว้