Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักจรรยาบรรณการท่องเที่ยวโลก The Global Code of Ethics for Tourism,…
หลักจรรยาบรรณการท่องเที่ยวโลก The Global Code of Ethics for Tourism
หลักการที่ 5การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรที่ก่อใก้เกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติและชุนที่เป็นเจ้าบ้าน
มีมาตรฐานการครองชีพ
เอาใจใส่ต่อปัญหา
สร้างงาน สร้างอาชีพ
ใช้วิธ๊การโปร่งใส
ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว
ความกดดันในการแข่งขันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร
ผลประโยชน์ส่วนตัวและความเห็นแก่ตัว
ความขัดแย้งข้ามวัฒนธรรม
เป้าหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนตัว
หลักการที่ 8เสรีภาพในการเดินทางของนักท่องเที่ยว
จัดเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกสฺ
ขั้นตอนบริการการข้ามระหว่างประเทศ
นักท่องเที่ยว มีสิทธิใช้วิธีการคว-มนาคมสื่อสาร
ควรมีการแลกเงินตราต่างประเทศ
ดำเนินดการภายใต้กฎหมาย
ระดับของจริยธรรมทางธุรกิจ
ระดับองค์กร
ระดับสมาคม
ระดับบุคคล
ระดับสังคม
ระดับประเทศ
หลักการที่ 7สิทธิในการท่องเที่ยว
อำนวยความสะดวกให้ทุกคน
มีสิทธิสากล
อำนวยความสะดวกในการท่องเที่ยว
ทุกคนเท่าเทียม
หลักการที่ 9 สิทธิของคนงาน และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
สิทธิ์ขั้นพื้นฐานของพนักงาน
มีความเชี่ยวช่าญ
โฮกาสในการแลกเปลี่ยน
ร่วมมงานและสัมพันธ์ สมดุล
มีความร่วมมือทุกภาค่ส่วน
มีการฝึกอบรมขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีที่อธฺิบายพัฒนาการทางจริยธรรม
พัฒนาทางความคิด
พัฒนาจริยธรรม ประกอบด้วยขั้นพัฒนาการใช้เชิงจริยธรรม 6 ขั้น ตามช่วงอายุ
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
วิเคราะห์จากสถานการณ์ที่บุคคลประสบมา
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
เกิดจากการทำงานของ จิตใต้สำนึก (Id), การเรียนรู้โลกตามความจริง (Ego), การรู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี (Superego)
หลักการที่ 10การปฏิบัติตามหลักการของระเบียบสากลว่าด้วยจรรยาบรรณสำหรับการท่องเที่ยว
แสดงเจตนารมร์ ด้วยจรรยาบรรณ
ผู้มีส่วนได้เสียต้องร่วมมือกัน
มีการพัฒนาการท่องเที่ยว
หลักการที่ 3การท่องเที่ยวปัจจัยนไปสู่ความยั่งยืน
ออกแบบโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการรักษา
ใช้ทรัพยากรอย่างมีค่า โดยเฉพาะน้ำ/พลังงาน
มีการบริหารจัดการพื้นทีี่เพื่อลดกระทบต่อสื่งแวดล้อม
ปกป้อรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยความยั่งยืน
เคารพต่อมรดกโลก
หลักการที่ 6 ภาระหน้าที่ของผู้มีส่วนได้เสียในการพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอลสนองความต้องการวัฒนธรรม
กรณ๊เกิดปัญหาส่งนักท่องเที่ยวกลับ
ร่วมภาครัฐดูแลความปลอดภัย
รัฐมีสิทหน้าที่ดูแลความปลอดภัย
นำเสนอแหล่งท่องเที่ยวด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ผู้ประกอบการให้ข้อมูลจริง
หลักการที่ 1 การท่องเที่ยวสร้างความเข้าใจและทำให้มีความเคารพนับถือซึ่งกันและกัน
การเป็นเจ้าบ้านที่ดี
นักท่องเที่ยวต้องไท่ก่ออาชญากรรมในพื้นที่
กิจกรรมไม่ขัดต่อลักษณะเฉพาะของขนบธรรมเนียม
ภาครัฐดูแล เอาใจใส่ด้านความปลอดภัยต่อนักท่องเที่ยว
ทุกภาคส่วนต้องเคารพต่อขนบธรรมเนียมประเพณี
นักท่องเที่ยวต้องทำความเข้าใจลักษณะพื้นที่
หลักการที่ 4การท่องเที่ยวเป็นผู้ใช้ประโทยชน์ทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติและเป็นผู้ช่วยเพิ่มพูนค่าของมรดก
วางแผนกิจกรรมท่ี่เอื้อต่อการอยู่รอด
มีนโนบาย การอนุรักษ์ เคารพสถานที่ทางศาสนาโโยปราศจากอคติ
ธรรมชาติมเป็นมรดกร่วมกัน
นำรายได้ไปบำรุงรักษา
หลักการที่ 2 การท่องเที่ยวนำไปสู่ความพึงพอใจของปัจเจกบุคคลและส่วนร่วม
สนับการท่องเที่ยว เกิดการแลกเปลี่ยน
มีกฏหมายควบคุม
เคารพความเสมอภาค
ศึกษาความรู้ ยอมรับความแตกต่าง
สร้างคุณค่าในการแลกเปลี่ยน
แนวคิดเกี่ยวกับจริยธรรมของธุรกิจที่มีต่อผู้บริโภค
หน้าที่ในการเปิดเผย
บทบาทในการไม่บิดเบือน
ทฤษฎีที่เน้นคุณภาพที่ดีของสินค้า
หน้าที่ในการไม่บังคับ
หน้าที่ในการยินยอม
การออกแบบ, การผลิต, การสื่อสาร
ทฤษฎีที่เน้นความปลอดภัยของสินค้า
ความรับผิดชอบด้านโฆษณาต่อผู้บริโภค
แนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนทางสังคมกับความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ
นางสาวนฤวรรณ รัตนะรัต 6321772010 รุ่น11