Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาการศึกษาไทย - Coggle Diagram
ปรัชญาการศึกษาไทย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564 )
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย
ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ 2-4)
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มาตรา๘ การศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้
๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
(๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้า
เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหกง
มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ
ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579
แนวคิดการจัดการศึกษา
หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมเเละทั่วถึง
หลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม
วิสัยทัศน์
คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่๒๑
จุดประสงค์ในการจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะ
เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมมุ่งสู่่การรพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้ำภายในลดลง
จุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา
เป้าหมายด้านผู้เรียน
3Rs
การเขียนได้ (Writing)
การคิดเลขเป็น (Arithmetics)
การอ่านออก (Reading)
8Cs
ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์
ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้
ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
เป้าหมายของการจัดการศึกษา
ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality)
ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency)
ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity)
ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
มาตรา 50
บุคคลมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ
หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
มาตรา 54
รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
มาตรา 258
ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ
ด้านการศึกษา
ให้สามารถเริ่มดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามมาตรา 54 วรรคสอง โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ให้ดำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้
ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมาย
มาตรา 261
ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ.ด้านการศึกษา ให้มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมาย
ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้
ให้คณะกรรมการดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายให้แล้วเสร็จและเสนอต่อคณะรัฐมนตรีภายในสองปีนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
บูรณาการผ่านการเรียนการสอน
ปลูกฝังการเลี้ยงดูผ่านครอบครัว
ให้ชุมชนเป็นฐานในการปลูกฝัง
พัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย
ช่วงวัยรุ่น
วัยเเรงงาน
ช่วงปฐมวัย
วัยผู้สูงอายุ
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เพื่อศตวรรษที่21
ปรับระบบการเรียนรู้
เปลี่ยนโฉมเป็นครูยุคใหม่
เพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ
พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
วางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลเเพลตฟอร์ม
สร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ