Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา - Coggle…
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2550-2564
ความจำเป็นในการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ
การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital
Revolution) การเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม ๔.๐
ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับ
การบริหาร
จัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ยังไม่เหมาะสม ขาดความคล่องตัว ยังมีความเหลื่อมล้ำในด้านโอกาส
การขาด
ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต และการมีจิตสาธารณะของคนไทย
• แนวคิดการจัดการศึกษา
หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม
หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง
วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดัก ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ 2-4) ให้ระบุเป็นรายมาตรา
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒”
มาตรา ๒1[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคาสั่งอื่นในส่วนที่ได้บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้“การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา ๕3[๓] ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอานาจออกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
(๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
(๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
(๑) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
(๒) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(๓) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
(๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
(๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
(๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ด้านความมั่นคง
การรักษาความสงบภายในประเทศ
การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ
การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
การเกษตรสร้างมูลค่า
อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ
ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
การเสริมสร้างพลังทางสังคม
การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง
ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมือง
ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
ภาครัฐมีความทันสมัย
ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยงการพัฒนา
ในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่
ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาประเทศ
บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก มีความสามารถสูง
มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ
ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น
กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา)
เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษา 12ปี
ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย
สนับสนุนให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ
จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
ทุกภาคส่วนที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาจะต้องเร่งรัด ผลักดัน ปรับสภาพ และพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนการศึกษาของประเทศให้ไปอยู่แถวหน้าของประเทศในกลุ่มอาเซียนและยกระดับคุณภาพของประชาชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 (พ.ศ. 2560-2564 )(ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา)
เพื่อแก้ปัญหาสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”
ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี”
ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี ๒๕๗๙”
ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโต
จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม”
ยึด “หลักการนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์