Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 :pen: unnamed - Coggle Diagram
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 :pen:
ความจำเป็นในการจัดทำแผน
ความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่ ๒๑
การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก
การเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม ๔.๐
การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ
ความต้องการกำลังคนที่มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
ประเทศเข้าสู่สังคมสูงวัย
ระบบการศึกษาที่ยังมีปัญหาหลายประการ
โอกาสทางการศึกษา
คุณภาพการศึกษา
ด้านประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณทางการศึกษา
แนวคิดการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
การจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม
การพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายของการจัดการศึกษา
ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม
ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ
เต็มตามศักยภาพ
ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่
คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย
ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปี
ยุทธศาสตร์ที่ ๑
: การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาต
รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ทุกช่วงวัยได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ ๒
: การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ
ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความ
เชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน
การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓
: การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่
จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ
สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร
อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน
แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ
ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ
ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดับสากล
ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔
: การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย
ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล
ยุทธศาสตร์ที่ ๕
: การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ ๖
: การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้
ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นที่
กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกำลังแรงงานของประเทศ
ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมสร้างขวัญกำลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สาระของแผนการศึกษาแห่งชาติที่มีความชัดเจน
การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาแผนการศึกษาแห่งชาติ
การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการศึกษาแห่งชาติ
การนำแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัติทุกระดับ