Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกเสียชีวิต หรือตายในครรภ์ Late fetal death - Coggle Diagram
ทารกเสียชีวิต หรือตายในครรภ์
Late fetal death
ความหมาย
1. Early fetal death หมายถึง ทารกในครรภ์เสียชีวิตก่อน 20 สัปดาห์
2. Intermediate fetal death หมายถึง ทารกในครรภ์เสียชีวิตระหว่าง 20-28 สัปดาห์
3. Late fetal death หมายถึง ทารกในครรภ์เสียชีวิตตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
สาเหตุจากทารกในครรภ์
ความผิดปกติทางโครโมโซม ส่วนใหญ่เป็น monosomy X, trisomy 21, 18 และ 13
ความพิการแต่กำเนิด จะมีความผิดปกติที่รุนแรงและเห็นได้ชัด เช่น neural tube
defect, complex heart disease เป็นต้น
สาเหตุอื่นๆ ได้แก่ คลอดก่อนกำหนด
สาเหตุจากรก
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก
สายสะดือผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement
สาเหตุจากมารดา
อายุมากกว่า 35 ปี
โรคทางอายุรกรรม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตชนิดรุนแรง โรคต่อม
ธัยรอยด์
ภาวะทางสูติกรรม เช่น คลอดก่อนกำหนด ปัญหาระหว่างรอคลอด
การติดยาหรือสารเสพติด บุหรี่
วินิจฉัย
การซักประวัติ
ซักประวัติได้ว่ารู้สึกทารกไม่ดิ้น ขนาดหน้าท้องเล็กลง คัดตึงเต้านมน้อยลงและมีสิ่งขับหลั่งสีน้ำตาลไหลออกมาทางช่องคลอด หรือได้รับอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย
ขนาดของระดับยอดมดลูก < อายุครรภ์ (Size < Date)
ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ไม่ได้
ช่วงแรกของการตั้งครรภ์อาจตรวจพบได้ช้า ซึ่งอาจพบได้หลังจากทารกเสียชีวิตเป็นเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
พบถุงการตั้งครรภ์ขนาดใหญ่ แต่ไม่มีตัวอ่อน
รายที่อายุครรภ์มากพอที่เห็นตัวทารกชัดเจนแล้วถ้าวัด Crown-rump length ขนาด 5 มม. แล้วแต่ยังไม่เห็นการเต้นของหัวใจทารก
ผลกระทบ
ต่อมารดา
อาจเกิดภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ (coagulation defect)
.อาจเกิดภาวะติดเชื้อในโพรงมดลูกจากการค้างของทารกในครรภ์นานเกินไป
การเกิดภาวะโศกเศร้าจากการสูญเสียทารกในครรภ์
ต่อทารก
ทารกเสียชีวิตในครรภ์อาจแข็งกลายเป็นหิน (lithopedian) ไม่สามารถคลอดออกมาได้
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากทารกตายในครรภ์
1. หญิงตั้งครรภ์มีความกลัววิตกกังวล เศร้าโศกจากการสูญเสียทารก บางรายอาจรู้สึก ผิดโทษตนเองที่เป็นสาเหตุให้ทารกตาย
2. ในรายที่ DFIU > 4 wks. ทำให้เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว พบประมาณ 25 % เนื่องจากการลดลงของไฟบริโนเจนในเลือด
3. มีโอกาสติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเวลา
แนวทางการช่วยเหลือ
รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง ประมาณ 90 % ของ DFIU ภายใน 1 เดือน
การทำให้ครรภ์สิ้นสุดลง
ให้ oxytocin โดยให้ syntocinon เข้มข้น เช่น 20 หน่วยใน 5 % in N/2 1000 ml. IV drip จะได้ผลดีถ้าปากมดลูกเปิดแล้ว 2-3 เซนติเมตร มีความบาง 50% และจะ ได้ผลดียิ่งขึ้นถ้าเจาะถุงน้ำคร่ำก่อนให้
ฉีดนํ้ายาเข้มข้นเข้าถุงนํ้าครํ่าทางหน้าท้อง (amnioinfusion) นํ้ายาที่ใช้เป็น hypertonic solution เช่น 20 % sodium chloride 1 50 % glucose 1 prostaglandin F 2