Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปพยาธิ ตา - Coggle Diagram
สรุปพยาธิ ตา
Cataract
• Crystalline lens
Histology
-
Subcapsular epithelium (Simple cuboidal)
-Synthesize protein for lens fiber สร้างอาหาร
- Transport AA
- Maintains cation pump to keep the lens clear ปั๊มน้ำออกจากเลนส์
-
Ciliary muscle
- มีเส้นประสาทคู่ที่ 3rd CN
หน้าที่
- การหดตัวของเลนส์
- เลนส์โป่งออกเป็นทรงกลม เพื่อเพิ่มการหักเหของแสง
Ciliary process
- ยึดติดกับเลนส์ด้วยเอ็นยึด zonular fibers
- มีการหลั่งน้ำเข้าไปใน posterior chamber
-
-
-
-
-
• Cortical cataract
- เกิดขึ้นที่ขอบด้านนอกของเลนส์ (Cortex)
- เริ่มจากเกิดสีขาวทึบเป็นริ้ว ซึ่งลักษณะที่เป็นริ้วจะขยายไปยังกึ่งกลางเลนส์และขัดขวางแสงที่ผ่านเข้ามาที่เลนส์ ทำให้เกิดแสงจ้าเกิดขึ้นซึ่งเป็นปกติของต้อกระจกชนิดนี้
• Subcapsular cataract
- เกิดขึ้นภายใต้แคปซูลของเลนส์ จากพื้นที่ทึบแสงเล็กๆ
- รบกวนการมองเห็นในการอ่าน
- ลดการมองเห็นในที่สว่างจ้า
- ทำให้เกิดแสงจ้าหรือรัศมีรอบๆแสงไฟตอนกลางคืน
-
• Hypermature Cataract
- มีการหดและเหี่ยวย่นของแคปซูลด้านหน้าเนื่องจากมีน้ำรั่วออกจากเลนส์
มี 2 แบบ ดังนี้
Liquefactive/Morgagnian Type
Sclerotic Cataract
- Usually develops slowly : พัฒนาช้า
ไม่ปวด ส่งผลกระทบส่วนเล็กๆของเลนส์ ไม่มีการสูญเสียการมองเห็น
- Progression of cataract
เลนส์มีความขุ่นมากขึ้น มีการบิดเบือนแสงที่ผ่านเลนส์ทำให้พร่องต่อการมองเห็น
การมองเห็นลดลง
เกิดภาพซ้อนในตาข้างเดียว
มีการเปลี่ยนแปลงของสี (สีขาวปรากฎเป็นสีเหลือง)
- Reduced acuity
- Abnormally dim red reflex
- Reduced contrast sensitivity
- ต้อกระจกรุนแรงเท่านั้นทำให้เกิดรูม่านตาสีขาว
-
• Treatment
- เปลี่ยนแปลงการเผาผลาญทางชีวเคมีของเลนส์โดยสารต้านอนุมูลอิสระ
- Catalin, Quinax, Aspirin, Vitamin E
- No supportive evidence
- สวมแว่นตากันแดด
- Surgeries การผ่าตัด
- เมื่อใส่แว่นกันแดดแล้วอาการไม่ดีขึ้น
- มีการรบกวนการใช้ชีวิตและเกิดภาวะแทรกซ้อน
- Surgical techniques
- Phacoemulsification method
- Extracapsular method
- Intracapsular method
Pinguecula
ภาวะการเสื่อมหรือ Degeneration ของเยื่อบุตาขาว พบบริเวณหัวตาและหางตา (Exposure area)
ต้อลมนี้ไม่มีผลต่อการมองเห็น แต่อาจจะทำให้ระคายเคืองได้
•ปัจจัยเสี่ยง
- การสัมผัสรังสี UV ในแสงแดด ลม ฝุ่น
•อาการและอาการแสดง
- มีเนื้อเยื่อสีเหลือง นูน ข้างตาดำ
- ระคายเคืองและคัน ส่วนใหญ่ไม่มีอาการแสดง
- ตาแห้ง เยื่อบุตาอักเสบ มีสีแดงเมื่อมีการอักเสบ
Pterygium
- มีสาเหตุการเกิดเหมือนกับต้อลม โดยต้อเนื้อเป็นเนื้อเยื่อสามเหลี่ยมคล้ายต้อลม แต่จะลามมายังตาดำทำให้บดบังการมองเห็นและการเข้าของแสง
- ไม่ได้เป็นเนื้อร้าย
- ถ้าอักเสบมากจะมีลักษณะตาแดงตลอดเวลา
• อาการและอาการแสดง
- เนื้อเยื่อสีน้ำตาล, แดง (อักเสบ), สีขาว (ไม่อักเสบ)
- เคืองตา ตาแดง น้ำตาไหล ตาแห้ง
- การมองเห็นมัวลง
- ส่วนใหญ่ (>90%) พบที่หัวตา
• Treatment
- หลีกเลี่ยงแสง UV, ลม, ฝุ่น, ควัน
- สวมแว่นกันแดด, ลม
- ใช้ยาหยอดตา artificial tears , topical vasoconstrictor + antihistamine (Hista-oph ED, Spersallerg ED, Opsil-A ED)
- การผ่าตัด excision ถ้ามีขนาดต้อเนื้อ >3 mm และใช้ยาไม่ได้ผล
ตากุ้งยิง (Hordeolum)
• ต่อมเปลือกตาติดเชื้อ
- Internal hordeolum (ส่วนใหญ่) บริเวณ Meibomian gland
- External hordeolum (stye) บริเวณ Zeis’s / Moll gland at hair follicle
• เกี่ยวข้องกับ Staphlococcus aureus
• การรักษา Hordeolum
- Oral antibiotics, Topical antibiotics
- Warm compression (การประคบร้อน)
- Incision and curettage (I&C) กรณีใช้ยาหยอดตาและการรักษาไม่ได้ผล
Diabetic retinopathy
เกิดจากการมีระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นเป็นเวลานาน ส่งผลให้เส้นเลือดฝอยที่ไปหล่อเลี้ยงจอตาโป่งพองจากผนังหลอดเลือดผิดปกติ ทำให้เลือดและน้ำเหลืองซึมออกมาจากหลอดเลือด กระจายทั่วจอประสาทตาเริ่มมีอาการบวม
เมื่อหลอดเลือดที่จอประสาทตาเสียหาย ร่างกายก็จะสร้างหลอดเลือดใหม่มาทดแทน แต่หลอดเลือดที่สร้างใหม่มีผนังไม่แข็งแรง ฉีกขาดได้ง่าย ทำให้มีเลือดรั่วซึมออกมาที่บริเวณวุ้นตา และอาจทำให้เกิดแผลเป็นซึ่งเป็นสาเหตุให้จอตาลอกออกจากด้านหลังของดวงตา หรือถ้าหากเส้นเลือดใหม่ที่เกิดขึ้นไปแทรกแซงการระบายน้ำออกจากลูกตา ส่งผลให้ความดันตาสูงขึ้น มีความเสียหายต่อเส้นประสาทที่ส่งภาพจากดวงตาไปยังสมอง เป็นสาเหตุเกิดโรคต้อหิน
• Presentation of DR
- ไม่มีอาการ
- มองภาพเบลอ
- Floater
- Retina detachment
- Macular edema
- Secondary glaucoma
-
-
จุดภาพชัดเสื่อมในผู้สูงอายุ (Age-Related Macular Degeneration, AMD)
- พบในผู้ป่วยอายุ >50 ปีขึ้นไป
- ตามัว เห็นภาพบิดเบี้ยว เห็นเงาดำตรงกลางภาพ
• ปัจจัยเสี่ยง
- กรรมพันธุ์
- สูบบุหรี่
- เพศหญิง
- ไขมันในเลือดสูง
- ความดันโลหิตสูง
- สายตายาว
- โรคหัวใจและหลอดเลือด
• Non-neovascular AMD
มีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ การมองเห็นค่อยๆลดลงไปตามอายุที่เพิ่มขึ้น มองเห็นเป็นจุดขาวๆที่บริเวณจุดรับภาพตรงกลางจอประสาทตา เรียกว่า Drusen
การรักษา : vitamin and antioxidant ลดอัตราเสี่ยง Advance AMD
• Neovascular AMD
มีการสูญเสียการมองเห็นอย่างรวดเร็วทันที ผลจากจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมและมีเลือดออกจากเส้นเลือกผิดปกติ เห็นจุดภาพดำตรงกลาง เรียกว่า Central scotoma
การักษา : การฉายแสงแบบ Photodynamic Therapy (PDT) และการฉีดยา Intravitreal anti-VEGF injection