Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การเขียนเค้าโครงการวิจัย, นายวัฒนะ บุตรสุวรรณ์ รหัส 636322332…
หน่วยที่ 7 การเขียนเค้าโครงการวิจัย
การประเมินเค้าโครงการวิจัย
การประเมินโครงการวิจัยที่ใช้ระเบียบวิจัยเชิงพรรณนา
การประเมินโครงการวิจัยที่ใช้ระเบียบวิจัยเชิงทดลอง
การประเมินเค้าโครงการวิจัยที่ใช้ระเบียบวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ตัวอย่าง ของ ดี เอ แมคแคย์
ส่วนประกอบของเค้าโครงการวิจัย
1.ส่วนหน้า
ส่วนปก ประกอบด้วย ชื่อผู้วิจัยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ส่วนใน ประกอบด้วย สารบัญ บัญชีตาราง บัญชีภาพประกอบ
2.ส่วนเนื้อหา
มี 3 บท ประกอบด้วย
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ส่วนท้าย
บรรณานุกรม
ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
ค่าใช้จ่ายในการวิจัย
ความหมายและความสำคัญ
ของเค้าโครงการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research proposal) หมายถึง แผนการดำเนินงานของการวิจัยที่ได้กาหนด หรือวางแนวทางไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะดำเนินการวิจัยจริง เค้าโครงการวิจัยเปรียบเป็นต้นแบบของการดาเนินการวิจัย เพื่อให้การดำเนินการวิจัยเป็นไปตามขั้นตอนที่ได้วางไว้ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
การเขียนเค้าโครงการวิจัยที่ดีผู้เขียนจะต้องมีความรู้ 2 ประการ คือ
1) มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่จะทาการวิจัย และ 2) มีความรู้ในระเบียบวิธีการวิจัย
ความสำคัญ
ช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นปัญหา หรืออุปสรรคต่างๆในการทาวิจัยล่วงหน้า
ทำให้ทราบค่าใช้จ่ายหรือสิ่งจำเป็นล่วงหน้า เพื่อจะใช้เตรียมการที่ถูกต้อง
เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการดาเนินการวิจัย
เพื่อใช้ในการนำเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัยจากหน่วยงาน หรือองค์การต่างๆ
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัย
แนวทางการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย
คำสำคัญ
ปัญหาการวิจัย/คำถามของการวิจัย
ความมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สมมติฐานของการวิจัย
1.สอดคล้องกับคำถามการวิจัยและความมุ่งหมายของการวิจัย
2.สมเหตุสมผลโดยมีทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหลักในการกำหนดสมมติฐานของการวิจัย
สามารถหาข้อมูลมาทดสอบได้
บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ใช้ภาษาที่ชัดเจน รัดกุม เข้าใจง่าย
ความสำคัญของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
กรอบแนวคิดของการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
การเขียนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.มีการเขียนนาในตอนแรกว่า ในส่วนนี้จะนาเสนอกี่ตอน แต่ละตอนเกี่ยวกับเรื่องอะไร
3.ผู้วิจัยควรเขียนสรุปเนื้อหาแต่ละตอนให้มีความสอดคล้องสัมพันธ์กับเนื้อหาที่นำเสนอ
4.ควรเสนอหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาการวิจัยก่อนแล้วจึงนำเสนอรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยเขียนแบบสังเคราะห์
5.ในการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรเขียนให้นำไปสู่ประเด็นการกาหนดปัญหาการวิจัย
สิ่งที่นำเสนอควรสอดคล้องกับเรื่องที่ทำการวิจัย หรือตามลักษณะของตัวแปรที่ทำการศึกษา
ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย
เขียนเป็นข้อๆ โดยใช้ภาษาสั้นๆ กะทัดรัด และได้ใจความ
ประโยชน์ของการวิจัยควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย กล่าวคือ ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาวัตถุประสงค์แต่ละข้อว่าก่อให้เกิดความรู้ หรือผลอะไร แล้วจึงพิจารณาต่อไปว่าความรู้หรือผลนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อใคร แล้วจะสามารถนาไปใช้ในเรื่องใด
ต้องไม่เขียนประโยชน์ของการวิจัยเกินความเป็นจริง
วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
1.คำถามสำหรับการวิจัย (Research Question)
เป้าหมายการวิจัย คือ สิ่งที่ต้องการจะทำเพื่อบรรลุเป้าหมาย
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
เป้าหมายสูงสุดของการวิจัยคืออะไร
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาเขียนเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ได้มาจาก 4 ทาง คือ
1) จากประสบการณ์ส่วนตัวของผู้ศึกษา 2) จากการทบทวนทฤษฎีหรือการวิจัยที่มีการศึกษาไว้แล้ว
3) จากการศึกษานาร่อง และ 4) จากการวิเคราะห์สังเคราะห์งานของผู้วิจัย
วิธีการศึกษา (Methods) เป็นการใช้แนวทางในการศึกษา(Approach) และเทคนิคการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูลอะไรบ้าง การออกแบบวิธีการศึกษามีข้อควรพิจารณา 4 ประการ คือ 1)ความมุ่งหมายการวิจัยสัมพันธ์กับประชากรที่จะทาวิจัย 2) การเลือกพื้นที่และประชากรที่จะศึกษา 3) วิธีการเก็บข้อมูล 4) วีการวิเคราะห์ข้อมูล
1.การวิจัยเชิงปริมาณ
ประชากร
กลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยและพัฒนา
ประเภทการเขียนเค้าโครงการวิจัย 3 ประเภท
ประเภทแรก
ประเภทที่สอง
ประเภทที่สาม
ประเภทที่สาม ได้แก่ เค้าโครงการวิจัยที่จัดทำโดยสถาบันหรือคณะกรรมการเพื่อขอรับทุนอุดหนุนจากองค์กรหรือสถาบันต่าง ๆ
เค้าโครงการวิจัยที่นักวิจัยเขียนเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย การพิจารณาเค้าโครงการวิจัย ขึ้นอยู่กับคุณค่าและความต้องการขององค์กรหรือสถาบันที่ให้ทุนอุดหนุนนั้น ๆ
เค้าโครงการวิจัยของนักศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ที่เขียนเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษา (advisory committee) เพื่อขอรับปริญญา
ส่วนประกอบของเค้าโครงการวิจัยอาจจะมีรายละเอียดแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับหน่วยงานหรือสถาบันที่ได้กาหนดรูปแบบการเขียนเค้าโครงการวิจัยให้เหมาะสมกับความต้องการหรือลักษณะงานของตน เช่น สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สานักงานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นต้น
ลักษณะของเค้าโครงการวิจัยที่ดี
มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยชัดเจนแน่นอน
มีความสอดคล้องกลมกลืน และมีความต่อเนื่องระหว่างรายการหรือขั้นตอนต่าง ๆ
มีสาระสำคัญที่ครบถ้วน ครอบคลุมและถูกต้อง
มีความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ ทั้งในด้านทรัพยากรและเทคนิควิธี
มีความชัดเจน เข้าใจตรงกัน และติดตามได้
มีประโยชน์ และมีคุณค่า
นายวัฒนะ บุตรสุวรรณ์
รหัส 636322332-03