Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท และ กล้ามเนื้อ -…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท และ กล้ามเนื้อ
7.1การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะชัก
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile Seizure) อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบมาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ในเด็กที่อายุมากกว่า 1 เดือนโดยที่เด็กไม่เคยมีอาการชักโดยไม่มีไข้มาก่อน
การวินิจฉัยโรค
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกายแล้ว
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อแยกสาเหตุที่อาจเกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
3.1 การตรวจน้ําไขสันหลัง เป็นสิ่งจําเป็นและสําคัญมากสําหรับเด็กที่ชักร่วมกับไข้ ที่มี อายุน้อยกว่า 18 เดือน เพราะเด็กอาจชักจากไข้ หรือจากการติดเชื้อของระบบประสาทซึ่งพบได้ บ่อยในเด็กเล็ก
3.2 การตรวจคลื่นสมอง ไม่ค่อยจําเป็นในเด็กที่ชักจากไข้ เพราะไม่ได้ช่วยบอกสาเหตุ การชัก
ชนิดของภาวะชักจากไข้สูงภาวะชักจากไข้สูง แบ่งเป็น 2 ชนิด
simple febrile seizure (primary febrile seizure)ผู้ป่วยไม่เสียการรู้ตัวขณะที่มือาการซัก อาจแบ่งเป็นกลุ่มตามอาการผิตปกติดังนี้ ต้นการเคลื่อนไหว เช่น jerking,rigidity, spasm, head turning การรับความรู้สึก คือมีความรู้สึกผิดปกติ เช่น มีการได้กลิ่นปลกๆ ได้ยินเสียง การมองเห็น การได้กลิ่น รส หรือสัมผัสที่ผิตปกติระบบประสาทอัตนมัติ เช่น มีอาการคลื่นไส้อาเจียน หน้าแดง เหงื่อออก ชนลุกต้านอารมณ์จิตใจ (psychic symptom) เช่นรู้สึกกตัวหรือโกรธมองเห็นหรือได้ยินเสียงทั้งที่ไม่มีอยู่จริง (hallucination) รู้สึกคุ้นเคยทั้งที่ไม่เคยไปสถานที่นั้นมาก่อน
1.2 Complex partial seizure ผู้ป่วยจะเสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการซักโตยผู้ป่วยอาจรู้ตัวดีมาก่อนและตามตัวยอาการไม่รู้ตัว หรือมีการเสียการรู้ตัวตั้งแต่แรกลักษณะการซักอาจมีการเคลื่อนไหวแบบ automatism ซึ่งเป็นการทำอะไรซ้ำๆ โดยไม่มีสวามหมายเช่น ปากขมุบขมิบ เคี้ยวปาก เสียริมฝีปากหรือการเคลื่อนไหวซ้ำๆของมือบยกถึงการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
สาเหตุ: เกิดไข้สูงที่เกิดจากการติดเชื้อที่พบได้บ่อยคือ การติดเชื้อของระบบ ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร เป็นต้น ถ้าอาการชักเกิดขึ้นในวันหลังๆของการมีไข้
มักมีสาเหตุอย่างอื่นที่ไม่จัดอยู่ในกลุ่มอาการชักจากไข้ เช่น มีการติดเชื้อของระบบประสาทที่สมองเยื่อหุ้มสมอง หรือเด็กมีอาการชักเดิมอยู่ก่อนแล้วการมีไข้ทําให้ชัก
การรักษา
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
ระงับอาการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus ให้ซ้ำได้ทุก 6-8 ชม
Paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ้ำได้ทุก 4-6 ช.ม.
อาการและอาการแสดง
เมื่อมีไข้สูงมาก เด็กจะตัวร้อน หน้าแดง มึนงงสับสน กระสับกระส่าย ร้องกวน มีอาการชัก ลักษณะการชักอาจจะตัวแข็งหรือตัวอ่อน ชักเกร็งหรือกระตุก ไม่รู้สึกตัวกล้ามเนื้อที่แขน ขา หน้าและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายบิดเกร็งและสั่น ตาจะกลอกไปด้านหลัง
ส่วนใหญ่จะไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระได้หรือไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ระดับความรู้สติเปลี่ยนไป อาจมีอาการหายใจลำบาก หยุดหายใจประมาณ 30 วินาที ซึ่งอาจทำให้มีอาการเขียวเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้เวลาในการชักน้อยกว่า 1 นาที แต่อาจใช้เวลาชักถึง 5 นาที
ปกติจะเกิดอาการชักในวันแรกของการมีไข้สูงและจะหายได้โดยไม่ต้องรักษา ถ้าเด็กมีอาการชักไม่หยุดภายใน 5 นาทีและกำลังรักษาอยู่ในโรงพยาบาล แพทย์จะให้ยาระงับการชัก เพื่อหยุดอาการ ภายหลังจากการชักเด็กจะนอนหลับ เนื่องจากสมองเหนื่อยล้าและต้องการฟื้นตัว จากนั้นเด็กจะฟื้นกลับสู่ภาวะปกติ บิดามารดามักมีความวิตกกังวล เนื่องจากการชักมีลักษณะคล้ายโรคลมชัก (epilepsy)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1
เสี่ยงต่อภาวะเซลล์สมองถูกทำลายจากการชักนาน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดอาการชักจากไข้สูง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3
เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุและหรืออันตรายจากการชัก
Epilepsy (โรคลมชัก) ภาวะที่เกิดอาการ Seizure ตั้งแต่ 2 episode, ขึ้น ไป โดยไม่ได้เกิดจากตาเนตุภายนอกเช่น การติดเซื้อในสมอง อุบัติเหตุทางสมอง โดยอาการชักที่เกิดขึ้น 2 episodes ต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมงเรียกภาวะดังกล่าวว่ "โรคลมชัก" เพราะผู้ป่วยโรคนี้มี โอกาสชักอีกครั้งในระยะเวลาต่อไปอีก 2 ปีได้ร้อยละ 70-80
Seizure (อาการชัก คือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของกลื่นไฟฟ้าสมอง โดยมีการปล่อยคลื่น ไฟฟ้ที่ผิดปกติ (epileptic form discharge) จากเซ ซลล์ประสาทในสมอง อาการชักเป็นอาการแสดงออกหรือมีความรู้สึกที่ผิดไปจากปกติที่เกิดขึ้นทันที โดยอาการแสดงจะขึ้นกับตำแหน่งของส มองที่ทำงานผิดปกติ
Convulsion (อาการเคร็งและ/หรือกระตุก) หมายถึง ฮาการแสดงทาง motor ผิตปกติ แสดงอาการด้วยการเกร็ง กระตุก เกิดจาก Seizure หรือสาเหตุอื่น เช่น syncope
Status epilepticus หมายถึง การชักต่อเนื่องนานมากกว่า 30 นาที หรือการชักหลายครั้งในช่วงเวลานานกว่า 30 นาที ไดยผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวเป็นปกติขณะหยุดชักสาเหตุของอาการซักที่พบบ่อยในเด็ก
การพยาบาลเด็กที่มีความดันในช่องกระโหลกศีรษะสุง
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalous)
เป็นภาวะที่มีน้ำไขสันหลังคั่งในกะโหลกศีรษะบริเวณ Ventricle(โพรงสมอง) และชั้น Subarachnoid ในภาวะปกติจะมีน้ำไขสันหลังอยู่ประมาณ 50-150 cc/min และมีอัตราการสร้าง 0.35 cc/min or 500 cc/day
อาการและอาการแสดง
ทารกและเด็กเล็ก ที่มีภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะอาจจะเริ่มมีอาการภายใน P-3 เดือน เมื่อวัดรอบอกและรอบศีรษะ เปรียบเทียบกันจะมีความแตกต่างกันมาก โดยปกติจะต่างกันประมาณ 2 cm. หัวโตเมื่อเทียบกับลําตัว รอบศีรษะโตกว่ารอบอกเกิน 2-5 ซม.กระหม่อมหน้า กว้าง ตึง กระดูกกะโหลกศีรษะแยกออก ทําให้ขนาดของศีรษะขยายเมื่อมีน้ำ มากขึ้น หน้าผากโปนเด่น หนังศีรษะแยกออก ทําให้ขนาดของศีรษะขยายใหญ่ กว่าปกติ
มีอาการเมื่อมองลงล่างจะเห็นตาขาวมาก( Sun Set Eye หรือ Setting Sun Sign) ซึ่งปกติจะมองไม่เห็น กล้ามเนื้อแขนขากว้าง ซึม อาเจียน
3.เบื่ออาหาร เลี้ยงไม่โต สั่น ร้องเสียงแหลม เมื่อมีอาการมากขึ้น ดูดนมลําบาก ตัวผอม หัวโต มีความต้านทานโรคน้อย สังเกตการขยายของศีรษะ ดูความ สมดุล ซึ่งอาจบ่งถึงการอุดตัน หน้าที่ทางการเคลื่อนไหวจะเสื่อมเมื่อศีรษะโตขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการเสื่อมของประสาทและ Atrophy จากการเคลื่อนไหวไม่ได้
การวินิจฉัย
เปรียบเทียบรอบศีรษะกับขนาดปกติของเด็กแต่ละ แนวทางการรักษา วัย โดยการวัดรอบศีรษะจะเพิ่มรวดเร็วการรักษาขึ้นกับสาเหตุและขนาดศีรษะ
ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะจะเห็นการแยกของ Suture และกระดูกกะโหลกศีรษะบาง
3.Transillumination จะเห็นการแยกของ Suture และกระดูกกะโหลกศีรษะบาง
CT Scan หรือVentriculography จะ ออก เช่น เนื้องอก เห็น Ventricle ขยายถ้าเป็นชนิด Non Communicating ใส่สีเข้าไปใน Ventricle || ไปดูดซึมที่ peritoneal เรียก V-P shunt จาก Anterior Fontanel จะไม่พบในน้ำไขสัน หลังเมื่อเจาะหลัง
แนวทางการรักษา
ถ้าศีรษะโตไม่มากนัก เกิดจากการมีเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากแบคทีเรีย เจาะหลังใส่ยา ก็อาจให้ความดันของน้ำไขสันหลังปกติ
ถ้าศีรษะโตมากขึ้นเรื่อย ๆ ต้องผ่าตัดเอาส่วนที่อุดตันออก เช่น เนื้องอก
ทํา Shunt ให้น้ำไขสันหลังจาก Ventricle Communicating ใส่สีเข้าไปใน Ventricle || ไปดูดซึมที่ peritoneal เรียก V-P shunt