Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
7.3 การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง(Intracranial infection) -…
7.3 การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง(Intracranial infection)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
เป็นการติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (Meningitis) เป็นบริเวณส่วนที่เป็นเมมเบรน ปกป้องหุ้มเนื้อสมองและไขสันหลัง อาการสำคัญ คือ ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ตาไม่สู้แสง คลื่นไส้อาเจียน
สาเหตุ
Bacterial meningitis
เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียพบได้ไม่บ่อยเท่าเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสแต่ภาวะโรครุนแรง มากกว่า
Purulent meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดเป็นหนอง
Tuberculosis meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
Viral meningitis หรือ Aseptic meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิ เช่น ตัวจี๊ด จากการรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ
การติดเชื้อรา (fungal meningitis) เช่น Candida albicants, Cryptococcus neoformans
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ (non-infection diseases) เช่น เนื้องอก (Malignancy) การบาดเจ็บ/กระทบกระเทือนของสมอง (trauma) การได้รับสารพิษ จากตะกั่ว ปรอท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
การติดเชื้อผ่านทางกระแสโลหิตโดยที่มีแหล่งติดเชื้ออยู่ที่ ส่วนอื่นของร่างกายแล้วแบคทีเรียเข้าสู่กระแสโลหิต (Bacteremia) ไปสู่ Subarachnoid Space
การติดเชื้อลุกลามโดยตรง การติดเชื้อกระจายสู่ Subarachnoid Space โดยตรงโดยมีแหล่งติดเชื้อบริเวณ ใกล้เคียง เช่น มีการอักเสบของหูชั้นกลางอย่างเรื้อรัง
ได้รับเชื้อโดยตรงจากการเปื้อนของเชื้อ เช่น มีการแตกหัก ของกะโหลกศีรษะ หรือมีกระดูกแตกที่บริเวณฐานของกะโหลก ศีรษะ
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามการติดเชื้อ
มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหารในเด็กเล็กๆ จะกระสับกระส่ายหรือหงุดหงิดไม่ยอมดูดนม หรือ มีอาเจียนได้ง่าย
อาการที่แสดงว่การระคายของเยื่อหุ้มสมอง(Meningeal Irritation)
ร่วมกับความผิดปกติในการทำงานของสมอง ผู้ป่วยจะปวดศีรษะมาก
ยกเว้นในเด็กเล็กๆ โดยเฉพาะภายในอายุ 6 เดือนแรกจะไม่พบ คงมีแต่กระหม่อมหน้า (Anterior Fontanelle) ตึงอย่างเดียวอาการแสดงของการระคายเคืองเยื้อหุ้มสมองที่สำคัญดังนี้ อาการคอแข็ง (Stiftness of Neck), Kernig’s Sign Positive & Brudzinski’s Sign Positive
อาการที่แสดงถงึภาวะแทรกซ้อน
เช่น สมองบวม มีน ้าหรือหนองใน ช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง มีฝีในสมอง
การวินิจฉัย
ประวัติของผู้ป่วย โดยบิดามารดา หรือผู้เลี้ยงดูจะให้ข้อมูลว่า ผู้ป่วยมีไข้สูง ปวดศีรษะและปวดคอ ซึม อาเจียน เด็กเล็กไม่ยอม ดูดนม ร้องกวน กระสับกระส่าย
การตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด พบปริมาณเม็ดเลือดขาวมีจำนวนสูงขึ้น
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การย้อมสีน้ำไขสันหลัง (gram stain)
การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง (CT scan)
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
โดยทั่วไปแพทย์จะให้ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
การรักษาทั่วไปตามอาการและการรักษาแบบ ประคับประคอง
ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูง
ให้ยานอนหลับเพื่อลด
ให้ยากันชักในผู้ป่วยที่มีอาการชักเกร็ง
ให้ยากันชักในผู้ป่วยที่มีอาการชักเกร็ง
ให้ยาลดอาการบวมของสมองในผู้ป่วยที่มีอาการสมอง บวม
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่ วยที่มีปัญหา การหายใจ หรือภาวะหมดสติ
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
ผู้ป่วยเด็กมีภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะและเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากการชัก
อาจได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ เนื่องจากอาการและพยาธิสภาพทางสมองและการได้รับยาขับน ้า
ไม่สุขสบายพักหลับได้น้อยเนื่องจากภาวะ ICP มีการระคายเคืองจากการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อเยื่อสมอง มีไข้ มีความ เจ็บปวด
ไข้สมองอักเสบ(Encephalitis)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เป็นการอักเสบของเนื้อสมอง บางครั้งการอักเสบของเนื้อสมองอาจมีการอักเสบของ เนื้อเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังเกิดร่วมด้วยก็ได้
สาเหตุ
ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต หรืออาจเกิดจากปฏิกิริยาต่อวัคซีน สมองอักเสบจาก
Primary viral encephalitis
ไวรัสที่นำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคไข้สมองอักเสบเจอี หรือ Japanease B. Virus เป็นสาเหตุของการตดิเชอื้ ไวรัสในสมองที่พบบ่อยที่สุด
ไวรัสเริม ทำให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบได้ในทุกวัย และทารกแรกเกิดที่มารดา ติดเชิ้อไวรัสเริมบริเวณช่องคลอด
ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
Secondary viral encephalitis
ปฏิกิริยาที่มีไวรัสเข้าสู่ร่างกายซึ่งปกติไวรัสนั้นไม่ได้เข้าสู่สมอง เชื้อได้แก่ หัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส คางทูม รวมทั้งวัคซีนป้องกันพิษ สุนัขบ้า
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพสามารถจะเกิดขึ้นทั่วไปตลอด ระบบประสาท ส่วนกลาง ทั้งแกนสมอง (ponds, medulla) สมองใหญ่ (cerebrum) และ basal ganglia บริเวณที่พบได้บ่อยที่สุด Thalamus และก้านสมอง (brain stem) ซึ่งเป็นสาเหตุของโคม่าและการหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
ไข้ มักสูงได้มาก ๆ ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง
ซึมลงจนกระทั่งถึงขั้นโคม่า ภายใน 24 –72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Involuntary movement)
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อคลั่ง อาละวาด มีอาการทางจิต
การหายใจไม่สม่ำเสมอ อาจหยุดเป็นห้วง ๆ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติจากผู้เลี้ยงดู ให้ข้อมูลว่าผู้ป่วยมีไข้สูง ซึม คอแข็ง
อาการและอาการแสดงดังที่กล่าวข้างต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ในช่วง 2-3 วันแรกเม็ดเลือดขาวสูง และนิวโตรฟิ ลขึ้นสูงต่อมาจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง (MRI)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG)
การตรวจวินิจฉัยแยกสาเหตุของเชื้อ เช่น การตรวจหา JE specific IgM antibody , การตรวจหาเชื้อโดยวิธี direct immunofluorescence , ผลการตรวจน้ำไขสันหลังพบแอนติบอดีต่อ herpes simplex virus
การรักษา
ดูแลระบบหายใจของผู้ป่วยให้ปกติ และหายใจสม่ำเสมอ
การให้ยา
- ยาระงับชัก - ยาป้องกันและรักษาความสมองบวมตั้งแต่ระยะแรกๆ ยาที่ลดอาการบวมของสมอง - ยานอนหลับ - ยา acyclovir ทางหลอดเลือดดำ - ยาลดไข้ - ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออกของร่างกาย โดยให้สารน้ำทางหลอดเลือดด า
การให้สารสารอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยที่มีอาการของโรครุนแรงอาจเสียชีวิต
การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (spastic) อาการสั่น (tremor) โรคลมชัก อัมพาตครึ่งซีก (paralysis) พูดไม่ชัดหรือพูดไม่ได้
ความจำเสื่อมและความคิดต่ำกว่าวัย
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
มีความผิดปกติทางอารมณ์