Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
การตรวจระบบประสาทและสมองในเด็ก
Muscle tone
ประเมินระบบมอเตอร์โดยการตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ถ้ากล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอดีถือว่าปกต
Babinski’s sign
ทดสอบโดยใช้อุปกรณ์ปลายทู่ า ถ้าผลบวกจะพบนิ้วเท้ากางออก ถ้านิ้วหัวแม่เท้ากระดกขึ้นในเด็กอายุ 1-2 ปี ถือว่าปกต
Brudzinski’s sign
การทดสอบในเด็กที่มี การติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้
เด็กจะแสดงอาการเจ็บปวดโดยจะงอเข่าและสะโพกทันที ผลการตรวจจึงเป็น positive
Kernig’s sign
ให้เด็กนอนหงายและงอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้าง เด็กปกติจะสามารถยกขาตั้งฉากแล้วเหยียดเข่าตรงได้
Tendon reflex
ตรวจปฏิกิริยาตอบสนองทางระบบประสาท ต้องใช้ไม้เอ็นเคาะ เคาะตรงใต้กระดูกสะบ้า (patellar tendon) และตรงเอ็นร้อยหวาย ค่าปกติคือ 2+ ถ้าreflex เร็วคือได้ 4+ แสดงว่ามีความผิดปกติของระบบประสาท
Glasgow coma scale
อาการสำคัญทางระบบประสาท ได้แก่ 1. . ระดับความรู้สึกตัว (Level of Conscious)
อาการทางตา (Ocular Signs) 3. ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว (Motor Response) 4. การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ (Vital Signs)
การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก
ภาวะชักและโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy )
Seizure (อาการชัก)
ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของคลื่นไฟฟ้าสมอง มีการปล่อยคลื่นไฟฟ้าที่ผิดปกติ จากเซลล์ประสาทของสมอง
Epilepsy (โรคลมชัก)
โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุภายนอกเช่น การติดเชื้อในสมองอุบัติเหตุทางสมอง
Convulsion (อาการเกร็งและ/หรือกระตุก)
อาการแสดงทาง motor ผดิปกติแสดงอาการด้วยการเกร็งกระตุกเกิดจากSeizure
สาเหตุุ
. ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะผิดปกติทาง metabolism
ภาวะผิดปกติทางไต
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ชนิดและลักษณะเฉพาะของภาวะชัก
Partial seizure
การชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่ จะพบมีอาการเตือน (aura)
1 Simple partial seizure ผู้ป่วยไม่เสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก
2 Complex partial seizure ผู้ป่วยจะเสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก
Generalized seizure
การชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองพร้อมกันทั้ง 2 ด้าน
ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติเกร็งทั้งตัวตามด้วยการกระตุกเป็นจังหวะ
ผู้ป่วยที่มีอาการเหม่อ ตาลอย
Myoclonic
Clonic
Tonic
Atonic
3.Unclassified epileptic seizure
การชักที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้เนื่องจากข้อมูลไม่พอเพียง
ชักจากไข้สูง Febrile convulsion
อุบัติการณ์ร้อยละ 2-5 ในเด็กก่อนอายุ 5 ปี พบมากในช่วงอายุ
18-22 เดือน เด็กชายพบมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย
สาเหตุ
พันธุกรรม ภาวะที่สมองเด็กยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ และมีไข้เป็นปัจจัยกระตุ้น
พี่น้องของเด็กที่เป็น Febrile Seizure มีความเสี่ยงในการเกิด Febrile Seizure สูงกว่าเด็กทั่วไป 4-5 เท่า
เกิดในเด็กบางคนหลังที่ได้รับวัคซีน DPT หรือ Measles
อาการและอาการแสดง
ไข้จะสูงกว่าหรือเท่ากับ 38ºC
ลักษณะการชัก ระยะเวลาชักเป็นเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 1-2 นาที
ช่วงเวลาที่ชัก ชักก่อนตรวจพบไข้หรือภายในเวลา 1 ชั่วโมงของไข้(21%) ชักใน 1-24 ชั่วโมงของไข้ (57%) ชักหลังจากมีไข้ 24 ชั่วโมง
(22%)
การชักซ้ำภายใน 24 ช่ัวโมง พบร้อยละ 16
การรักษา
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
ระงับอาการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus
ให้ซ้ำได้ทุก 6-8ชม
Paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ ้าได้ทุก 4-6 ช.ม.
เช็ดตัวลดไข้
นางสาวสาวิตรี ไสยาสน์ รหัสนักศึกษา 621201165