Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Thin EDH Lt. anterior temporal region, comminuted fx Lt. frontal…
Acute Thin EDH Lt. anterior temporal region, comminuted fx Lt. frontal bone, Multiple
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยชาย อายุ 21 ปี 8 เดือน 26 วัน อาชีพ รับจ้าง สถานภาพ โสด อยู่บ้านเลขที่ 189/1 หมู่ 5 ตำบล หนองหลวง อำเภอ กึ่งอำเภอเฝ้าไร่ จังหวัด หนองคาย
ประวัติการป่วยในปัจจุบัน
อาการ ส่งตัวมาที่ รพ. ปทุมธานี ออกรับ อุบัติเหตุ ขับ MCชนเสาไฟฟ้า ศีรษะกระแทก หมดสติ มีแผลฉีกขาดที่หน้าผากข้างซ้ายและตาข้างซ้ายบวมปิด เลือดออกหูทั้ง 2 ข้าง เลือดออกปาก เวลา 22.00 น. ที่ซอยวัดเปรมประชากร ต.บางพูน อ. เมือง ไม่สวมหมวกกันน็อค มีกลิ่นสุรา
การวินิจฉัยโรค
Acute Thin EDH Lt. anterior temporal region, comminuted fx Lt. frontal bone, Multiple
ประเมินอาการแรกรับ
- E1V1M4 pupil Rt.3 mm fixed, Lt 4 mm fixed,
- no stepping along spine , FAST neg at ER 23.00 น.
- E1V1M4 BP 134/95 mmHg RR 16 min O2 sat 84 %
- Vital signs E1V1M6 Pupil ขวา 3 Pupil ซ้าย 3 T 35.5 C PR 104/min BP 127/83 mmHg
-
แปลผลCT
-
-
รอยโรค
-
- กระดูกหน้าซ้ายหักแบบเป็นชิ้นพร้อมเสริมฐานกะโหลกศีรษะตามที่อธิบายไว้
-
- กระดูกใบหน้าร้าวหลายจุดตามที่อธิบายไว้
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปัญหาที่ 1. มีโอกาสเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจาก ปริมาตรของเนื่อสมองเพิ่มขึ้น จาก เลือดออกนอกเยื้อหุ้มสมองชั้นดูรา(EDH)
- สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงทางระบบประสาทและสัญญาณชีพบันทึกระดับความรู้สึกตัวปฏิกิริยาของรูม่านตาและการเคลื่อนไหว (คะแนน Glasgow coma Scale ลดลงจากเดื่มมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนต้องรายงานแพทย์ทันที)
- ช่วยให้มีการระบายอากาศปอดได้อย่างเพียงพอและป้องกันการอุดตันในทางเดินหายใจเนื่องจากภาวะที่มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์และภาวะขาดออกซิเจนนั้นจะทำให้หลอดเลือดสมองขยายตัวจึงมีปริมาณเลือดไหลเวียนเพิ่มขึ้นเกิดความดันภายในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นดังนั้นควรปฏิบัติดังนี้
2.1 การดูดเสมหะที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนส่งผลทำให้เกิดความดันกะโหลกศีรษะมากขึ้น
2.2 จัดท่าผู้ป่วยให้นอนตะแคงหรือตะแคงถึงคว่ำเพื่อมิให้ลิ้นตกไปอุดกั้นทางเดินหายใจและช่วยให้เสมหะน้ำลายไหลออกได้สะดวก
-
-
- เพิ่มการไหลกลับของเลือดดำจากสมองเนื่องจากเลือดดำจากสมองที่ไหลกลับสู่หัวใจไม่สะดวกจะเป็นสาเหตุความดันกะโหลกศีรษะสูงเพิ่มขึ้นและยังพบการขัดขวางการไหลกลับของเลือดดำเฉพาะแห่งที่ทำให้เกิดภาวะสมองบวมเป็นผลให้การไหลเวียนเลือดดำหยุดชะงักวิธีการเพื่อช่วยให้เลือดดำจากุสมองไหลกลับได้สะดวกมีดังนี้ทำให้การไหลเวียนเลือดดำจากสมองกลับสู่หัวใจและการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองลงช่องไขสันหลังสะดวกตามแรงโน้มถ่วงของโลก
-
-
-
- จัดการสาเหตุทำให้เกิด valsalva maneuver ได้แก่ ไม่ผูกยึดผู้ป่วยไว้กับเตียงโดยไม่จำเป็นดูดเสมหะแต่ละครั้งด้วยความนุ่มนวลไม่ใช้แผ่นไม่ยันปลายเท้าเพื่อป้องกันปลายเท้าตกในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยอาการเกร็งการพลิกตะแครงตัวผู้ป่วยแต่ละครั้งต้องพลิกให้หลังตรงตลอดแนวไม่ให้คอพลิกหรือเอียงหลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะทำให้เกิดแรงเบ่งเช่นการเบ่งอุจจาระและเบ่งปัสสาวะทำให้เกิดความดันกะโหลกศีรษะสูง
2.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะการกำซาบออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อสมองลดลงเนื่องจากมีภาวะเลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมอง
- ประเมินอาการทางระบบประสาททุก 1 ชั่วโมง นาน 36 ชั่วโมงถ้าผู้ป่วยซึมลงแขนขาอ่อนแรง รูม่านตาไม่เท่ากัน ปวดศีรษะ อาเจียน รีบรายงานแพทย์ทราบ
- ตรวจสอบสัญญาณชีพทุก 15 นาที ถึง 1 ชั่วโมง นาน 36 ชั่วโมง ความดัน Systolicที่สูงขึ้น ชีพจรช้าลง
เป็นการเตือนให้ทราบว่ามีความดันในกะโหลกสูง และศูนย์ควบคุมสัญญาณชีพขาดออกซิเจนหรือมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง (การตรวจสอบถี่มากในช่วง 24 ชั่วโมงแรก )
- ตรวจสอบวิเคราะห์แก๊สในหลอดเลือดแดง ค้นหาค่าที่ผิดปกติทางความสมดุลกรดด่างดูว่าอัตราความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ลดลงหรือไม่ ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เซลล์สมองขาดออกซิเจนหลอดเลือดในสมองขยาย ซึ่งจะทำให้สมองบวม
- ให้ออกซิเจนบริสุทธิ์ (Hyperventilation) ก่อนดูดเสมหะทุกครั้งและดูดเสมหะนาน 10-15 วินาที
เพื่อลดระดับคาร์บอนไดออกไซด์ ป้องกันการขาดออกซิเจน
- ตรวจสอบความดันในสมองจากเครื่องทุก 15 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ป้องกันการติดเชื้อตรงรอยต่อ
- ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดจากสมอง โดยจัดให้นอนศีรษะสูง 30 องศา และให้คออยู่ในท่าตรง
- ในรายที่ปริมาตรเลือดไหลเวียนในร่างกายลดลง เนื่องจากการเสียเลือดเสียน้ำ ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ตรวจสอบ Hematocrit ทุก 6 ชั่วโมง ส่วนในรายที่ไม่มีการบาดเจ็บอวัยวะอื่นร่วมด้วย การให้สารน้ำต้องระวังควรให้ประมาณ 1,400 มล/วัน เพื่อป้องกันสมองบวม
- สอนผู้ป่วยให้รู้จักเลี่ยงการทำกิจกรรมที่เพิ่ม ความดันในกะโหลก เช่น การเกร็ง เบ่ง สั่งน้ำมูก ไอ งอตะโพก
-
-
-
การวางแผนการส่งต่อ
-
-
-
-
-
-ส่งผู้ป่วยจุดที่นัดหมาย(ER, OPD, หอผู้ป่วย
-