Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชื่อเล่น ด.ญ.เกวลิน อายุ 4 ปี การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever…
ชื่อเล่น ด.ญ.เกวลิน อายุ 4 ปี
การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
A1: มีภาวะ mild dehydration
ข้อมูลสนับสนุน
S: -การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
มารดาบอกว่า“น้องมีอ่อนเพลีย แต่สดชื่นขึ้นแล้ว ยังทานอะไรไม่ค่อยได้ ทานแค่น้ำข้าวต้มไปนิดหน่อย กับนม 1 กล่อง”
O:
จากการสังเกต
-น้องยังมีถ่ายเหลว 2 ครั้ง ไม่มีเลือดปนออกมา เริ่มมีกากมากขึ้น
ผลElectrolytes
-Na 147 mEq/L สูงกว่าปกติเล็กน้อย
-K 2.8 mEq/L ต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
-Cl 64 mEq/L ต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
-Hct 42.5 % สูงกว่าปกติ
I/O 425/500
การตรวจร่างกาย
-ริมฝีปากแห้ง
-พบจุดจ้ำเลือดบริเวณแขนและขาทั้งทั้ง 2 ข้าง
วัตถุประสงค์:
-ไม่เกิดภาวะ dehydration
เกณฑ์การประเมิน:
-ไม่มีอาการของภาวะขาดน้ำและอาหารเช่น กระสับ กระส่าย ตาลึก ปากแห้ง อ่อนเพลีย ร้องกวน คลื่นไส้ อาเจียน ชัก เป็นต้น
-Skin Turgor ดี ผิวหนังชุ่มชื้นดี
-สัญญาณชีพปกติ
T 36.4-37.4 ํC (วัดArmpit)
P 70-100 ครั้ง/นาที
R 20-24 ครั้ง/นาที
BP ไม่ควรต่ำกว่า 78/60-ไม่ควรเกิน110/70 mmHp
-I/O > 0.5/kg/hr
-ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการมีค่าปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดสัญญาณชีพทุก 2 ช.ม.
2.Observe ภาวะdehydration เช่น ปากแห้ง แดง ลิ้นแตก ปัสสาวะออกน้อยหรือสีเข้ม ตาลึก
3.ดูแลให้ได้สารน้ำตามแผนการรักษา 5% DN/3 IV drip 30 cc/hr
4.กระตุ้นให้จิบ ORS บ่อยๆ
5.ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักเพื่อลดกิจกรรมของร่างกาย
6.ดูแลให้ได้รับอาหารวันละ 1,300 kcal/day และดื่มน้ำวันละ 2,280 ml/ 24 hr.
A2: เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก เนื่องจากมีการรั่วของพลาสม่า
ข้อมูลสนับสนุน
S: -การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
“น้องมีอาการอ่อนเพลีย วันนี้ดูสดชื่นขึ้น มีถ่ายเหลว 2 ครั้ง ไม่มีเลือดปนออกมาเริ่มมีกากมากขึ้น”
O:
-V/S
10.00 น. และ 14.00น.
T 37.2-37.4 องศาเซียวเซียส
P 128 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็ว
R 42-44 ครั้ง/นาที หายใจเร็ว
BP 90/60-100/60 mmHg.
SPO2% 98%
-ค่าHct. 42.5%
-พบจุดจ้ำเลือดบริเวณแขนทั้งและขา2ข้าง
วัตถุประสงค์:
-ไม่เกิดภาวะช็อค
เกณฑ์การประเมิน:
-ไม่มีอาการและอาการแสดงของช็อค เช่น ขีด เหงื่ออก ตัวเย็น กระสับกระส่าย เป็นต้น
-สัญญาณชีพปกติ
T 36.4-37.4 ํC (วัดArmpit)
P 70-100 ครั้ง/นาที
R 20-24 ครั้ง/นาที
BP ไม่ควรต่ำกว่า 78/60-ไม่ควรเกิน110/70 mmHp
-Pulse pressure มากกว่า 20 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด พร้อมแนะนำญาติให้ช่วยสังเกตโดยเฉพาะอาการช็อก เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง, ซึมลง, ปลายมือปลายเท้าเย็น, พูดจาสับสนหรือมีอาการ กระสับกระส่าย
ตรวจวัดสัญญาณชีพอย่างน้อย ทุก 2 ชั่วโมง หากพบ pulse pressure < 20 มม.ปรอท,ชีพจร 120 ครั้ง/นาที หรือเบาไม่ชัดเจน, หายใจเร็ว > 30 ครั้ง/นาที, ความดันโลหิต < 90/60 มม.ปรอท
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและปรับอัตราการไหลของสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ 5% DN/3 IV drip 30 cc/hr
บันทึกสารน้ำที่เข้าออกร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง
ติดแผ่นป้าย "เตือนใจ ไข้เลือดออก" ที่บริเวณ หัวเตียงผู้ป่วย ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการซึ่งเป็นสัญญาณ อันตรายที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ในระยะช็อก เช่น มีอาการกระสับกระส่าย เหงื่อออกเยอะ มือเท้าเย็น ชีพจรเบาแต่เร็ว และความดันโลหิตลดลง เป็นต้น
A3: เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในเนื่องจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ข้อมูลสนับสนุน
S: มารดาบอกว่า “ไม่ได้เอาไม้กั้นเตียงขึ้นเนื่องจากเห็นว่าน้องโตแล้ว เวลาไปเข้าห้องน้ำก็ไม่ได้เอาไม้กั้นเตียงขึ้น”
O: -เด็กอ่อนเพลีย
วัตถุประสงค์:
-เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
เกณฑ์การประเมิน:
-สิ่งแวดล้อมเด็กเป็นระเบียบ เรียบร้อย ปลอดภัย
-ไม่เกิดรอยฟกช้ำหรือแผลตามร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพแวดล้อมภายในห้องของผู้ป่วย
2.แนะนำให้ผู้ปกครองจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณเตียงให้เหมาะสมและปลอดภัย เช่น เก็บมืดปอกผลไม้ให้พ้นมือเด็ก
3.แนะนำให้ผู้ปกครองดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ควรปล่อยเด็กไว้ลำพัง และ ควรดึงราวกั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังทำกิจกรรมเสร็จ
4.การให้ความรู้เรื่องการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุใน
เด็กเล็กแก่ผู้ดูแลและครอบครัวให้มีความรู้ทัศนคติ ค่านิยมจนกระทั่งเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ นำไปสู่การป้องกันอุบัติเหตุ
โดยการให้คำปรึกษา และให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง